dc.contributor.author |
ทนงศักดิ์ ประสบกิตติคุณ |
th |
dc.contributor.author |
สมพิศ อุดมศิลป์ |
th |
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา โรงเรียนสาธิต "พิบูลบำเพ็ญ" |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T08:47:30Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T08:47:30Z |
|
dc.date.issued |
2548 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/367 |
|
dc.description.abstract |
ค่ายวิทยาศาสตร์เป็นรูปแบบหนึ่งของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มีประสบการณ์ในการแก้ปัญหาในการแก้ปัญหาด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์ มีทักษะในการเรียนรู้ที่ดีตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ การศึกษาครั้งนี้เป็นการประเมินโครงการค่ายวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิต "พิบูลบำเพ็ญ" มหาวิทยาลัยบูรพา จัดขึ้น ณ โรงไฟฟ้าบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา และใช้รูปแบบของไทเลอร์และรูปแบบของซิปป์เป็นกรอบแนวคิดในการประเมิน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อประเมินโครงการตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ตั้งไว้ และเพื่อประเมินด้านสภาพแวดล้อม และกระบวนการจัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาตร์ กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่อาสาสมัครเข้าร่วมกิจกรรมค่ายทั้งหมด จำนวน 90 คน และคณะทำงานซึ่งเป็นผู้ดำเนินการจัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ จำนวน 18 คน เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินประกอบด้วย แบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาตร์ แบบวัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์ และแบบวัดเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน และของคณะทำงานเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม และกระบวนการจัดกิจกรรมคายวิทยาศาสตร์ ผลการประเมินโครงการตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม พบว่า ภายหลังเข้าร่วมกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ นักเรียนมีคะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อยู่ในเกณฑ์สูงมาก ส่วนคะแนนเจตคติ
ทางวิทยาศาสตร์ และเจตคติต่อวิชาวิทยาศาตร์อยู่ในเกณฑ์สูง โดยที่คะแนนทุกด้านเหล่านี้สูงกว่าก่อนเข้าร่วมกิจกรรมค่าวิทยาศาสตร์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อสภาพแวดล้อม ปัจจัยเบื้องต้น และกระบวนการจัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์อยู่ในเกณฑ์ดีมาก จากผลการประเมินโครงการค่ายวิทยาสาสตร์ในครั้งนี้แสดงให้เห็นความสำคัญของค่ายวิทยาศาสตร์ในการสนับสนุนให้นักเรียนได้มีโอกาสฝึกฝนการใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน มีการซึมซับเจตคติทางวิทยาศาสตร์ที่ดี และมีความสุขในการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากโรงเรียนสาธิต "พิบูลบำเพ็ญ" ปีการศึกษา 2548 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
โรงเรียนสาธิต "พิบูลบำเพ็ญ" มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
วิทยาศาสตร์ - - การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) - - วิจัย |
th_TH |
dc.subject |
วิทยาศาสตร์ - - กิจกรรมการเรียนการสอน - - วิจัย |
th_TH |
dc.subject |
สาขาการศึกษา |
th_TH |
dc.subject |
โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ - - การประเมิน |
th_TH |
dc.title |
การประเมินโครงการค่ายวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิต "พิบูลบำเพ็ญ" มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.title.alternative |
Science Camp Project evaluation of mathayom suksa III students, Piboon Bumpen Demonstration School, Burapha University |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.year |
2548 |
|
dc.description.abstractalternative |
Science camp is one form the learning activities aimed to enhance students' interests in seeking scientific knowledge, experiences in problem solving by using the scientific process, and good learning skills in what are aimed to learn. The current study was to evaluate a science camp project held for Mathayom Suksa III students of Piboon Bumpen Demonstration school, Burapha University, at BangPakong power plant, Chachoengsao province. Tyler's models of evaluations and CIPP model were used as a framework for the project evaluation. The purposes of the study were to evaluate the behavioral objectives set for the project, the environmental condition, and the process of science camp activity arrangement. The study sample included 90 Mathayom Suksa III Student voluntarily participating in the science camp and 18 staff who ran all the camp activities. The instruments used in the evaluation included the science process skill scale, the scientific attitude scale, the attitudes toward science course scale,and the questionnaires asking the students' and the staff opinions about the environmental condition and the process of science camp activity arrangement. The study results, according to the behavioral objectives set for the project, revealed that after the camp activities the students' scores in science process skill were at a very high level while the scientific attitude scores the attitudes toward science course scores were at a high levels. Compared to the scores before the camp activities, the scores of all aspects after the camp activities were significantly higher than that before at the .05 level. The students' opinions about the context condition input condition and the process of science camp activity arrangement were at good levels where as those of the staff were at very good levels as well. The results of this project evaluation suggest the significance of science camp in supporting the students' practice of the use of science process skills for problem solving in daily life, enhancing their good scientific attitude, and helping them enjoy learning sciences. |
en |