DSpace Repository

ความคงทนของคอนกรีตที่ผสมเถ้าปาล์มน้ำมันหลังแช่น้ำทะเลเป็นเวลา 7 ปี

Show simple item record

dc.contributor.author วิเชียร ชาลี
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-07-26T01:50:40Z
dc.date.available 2019-07-26T01:50:40Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3651
dc.description.abstract งานวิจัยนี้ศึกษาผลของเถ้าปาลม์นํามันบดละเอียดต่อกําลังอัดการแทรกซึมของคลอไรด ์และการกัดกร่อนเหล็กเสริมของคอนรีตในสภาพแวดล้อมชายฝั่งทะเลเป็นเวลา 7 ปี โดยใช้คอนอนกรีตที่มีอัตราส่วนนําต่อวัสดุประสาน (W/B) เท่ากับ 0.40, 0.45 และ 0.50 ในแต่ละอัตราส่วนนําต่อวัสดุ ประสาน แทนที่ปูนซีเมนตป์อร์ตแลนดป์ระเภทที่ 1 ด้วยเถ้าปาลม์นํ้ามันบดละเอียด เท่ากับร้อยละ 0, 15, 25, 35 และ 50 โดยนํ้าหนักวัสดุประสาน หล่อตัวอย่างคอนกรีตทรงลูกบาศก์ขนาด 00x200x200 มม และฝังเหล็กเส้นกลมขนาด 12 มม. ยาว 50 มม. ที่มุมของตัวอย่างทดสอบ ให้มีระยะคอนกรีตหุ้มเหล็กเท่ากับ 10, 20 และ 50 มม. และได้หล่อตัวอย่างทรงกระบอกขนาด 100x200 มม3 สําหรับ ทดสอบกําลังอัด หลังจากบ่มคอนกรีตในน้ำประปาจนมีอายุครบ 28 วัน นำตัวอย่างคอนกรีตไปแช่น้ำ ทะเลในสภาวะเปียกสลับแห้ง และเก็บตัวอย่างมาทดสอบกําลังอัด การแทรกซึมของคลอไรด ์และการเกิดสนิมของเหล็กที่ฝังในคอนกรีต หลังแช่น้ำทะเลเป็นเวลา 7 ปี ผลการศึกษา พบว่า การแทนที่เถ้าปาลม์นํ้ามันในปริมาณสูงขึ้นไม่เกินร้อยละ 25 โดยน้ำหนักวัสดุประสาน ส่งผลให้การแทรกซึมของคลอไรด์ และการกัดกร่อนเหล็กเสริมมีแนวโน้มลดลง รวมทั้งส่งผลให้กําลังอัดของคอนกรีตมีแนวโน้มสูงขึ้น อย่างไรก็ตาม การแทนที่เถ้าปาลม์น้ำมันในปริมาณสูงในคอนกรีตถึงร้อยละ 50 กลับส่งผลให้การแทรกซึมของคลอไรด์และการกัดกร่อนเหล็กเสริมในคอนกรีตมีแนวโน้มสูงขึ้น การศึกษาครั้งนี้พบว่า การใช้เถ้าปาลม์นํ้ามันผสมในปูนซีเมนต์ ปอร์ตแลนดป์ระเภทที่ L ร้อยละ LM ถึง KM โดยนําหนักวัสดุประสาน ที่มี W/B เท่ากับ N.ON ให้ความคงทนของคอนกรีตที่ใช้ในสิ่งแวดล้อมทะเลได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากทำให้คอนกรีตมีกําลังอัดที่สูง และลดการแทรกซึมของคลอไรดแ์ละการเกิดสนิมเหล็กได้ดีที่สุด th_TH
dc.description.sponsorship ทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณเงินรายได้ (เงนิอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การแทรกซึมของคลอไรด์ th_TH
dc.subject การกัดกร่อนเหลก็เสริม th_TH
dc.subject กําลังอัดคอนกรีต th_TH
dc.subject สิ่งแวดล้อมทะเล th_TH
dc.title ความคงทนของคอนกรีตที่ผสมเถ้าปาล์มน้ำมันหลังแช่น้ำทะเลเป็นเวลา 7 ปี th_TH
dc.title.alternative Durability of concrete containing palm oil fuel ash under 7-year exposure in marine environment) en
dc.type Research en
dc.author.email wichian@buu.ac.th
dc.year 2562 th_TH
dc.description.abstractalternative This research investigates the effects of palm oil fuel ash on compressive strength, chloride penetration, and steel corrosion of concrete after being exposed to the marine environment for 7 years. Water-to-binder ratios (W/C) were carried at 0.40, 0.45 and 0.50. Palm oil fuel ash to partially replace Portland cement type I at the percentages of 0, 15, 25, 35 and 50 by weight of binder. The 200-mm concrete cube specimens were cast and steel bars with 12-mm diameter and 50 mm in length were embedded with the covering depth of 10, 20 and 50 mm. Then the cylindrical specimens of 100-mm in diameter and 200-mm in height were cast for testing compressive strength then cured in fresh water for 28 days. Subsequently, the specimens were tested to determine the compressive strength, the chloride penetration, and the steel corrosion after being exposed to tidal zone for 7 years. The results indicated that chloride penetration and steel corrosion clearly decreased with replacing palm oil fuel ash is less than 25% by weight of binder including the increased of compressive strength. However, with a high volume of palm oil fuel ash replacement (up to 50% by weight of binder) did not well prevent the chloride resistance and steel corrosion. This study found that concretes with the palm oil fuel ash replacement of 15 to 35% by weight of binder with a W/B ratio of 0.40 can be efficiently employed to enhance the durability of concrete structures in seawater. Because of they provide the highest compressive strength and lowest chloride penetration and steel corrosion in concrete en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account