Abstract:
งานวิจัยนี้ศึกษาผลของเถ้าปาลม์นํามันบดละเอียดต่อกําลังอัดการแทรกซึมของคลอไรด ์และการกัดกร่อนเหล็กเสริมของคอนรีตในสภาพแวดล้อมชายฝั่งทะเลเป็นเวลา 7 ปี โดยใช้คอนอนกรีตที่มีอัตราส่วนนําต่อวัสดุประสาน (W/B) เท่ากับ 0.40, 0.45 และ 0.50 ในแต่ละอัตราส่วนนําต่อวัสดุ ประสาน แทนที่ปูนซีเมนตป์อร์ตแลนดป์ระเภทที่ 1 ด้วยเถ้าปาลม์นํ้ามันบดละเอียด เท่ากับร้อยละ 0, 15, 25, 35 และ 50 โดยนํ้าหนักวัสดุประสาน หล่อตัวอย่างคอนกรีตทรงลูกบาศก์ขนาด 00x200x200 มม และฝังเหล็กเส้นกลมขนาด 12 มม. ยาว 50 มม. ที่มุมของตัวอย่างทดสอบ ให้มีระยะคอนกรีตหุ้มเหล็กเท่ากับ 10, 20 และ 50 มม. และได้หล่อตัวอย่างทรงกระบอกขนาด 100x200 มม3 สําหรับ ทดสอบกําลังอัด หลังจากบ่มคอนกรีตในน้ำประปาจนมีอายุครบ 28 วัน นำตัวอย่างคอนกรีตไปแช่น้ำ ทะเลในสภาวะเปียกสลับแห้ง และเก็บตัวอย่างมาทดสอบกําลังอัด การแทรกซึมของคลอไรด ์และการเกิดสนิมของเหล็กที่ฝังในคอนกรีต หลังแช่น้ำทะเลเป็นเวลา 7 ปี ผลการศึกษา พบว่า การแทนที่เถ้าปาลม์นํ้ามันในปริมาณสูงขึ้นไม่เกินร้อยละ 25 โดยน้ำหนักวัสดุประสาน ส่งผลให้การแทรกซึมของคลอไรด์ และการกัดกร่อนเหล็กเสริมมีแนวโน้มลดลง รวมทั้งส่งผลให้กําลังอัดของคอนกรีตมีแนวโน้มสูงขึ้น อย่างไรก็ตาม การแทนที่เถ้าปาลม์น้ำมันในปริมาณสูงในคอนกรีตถึงร้อยละ 50 กลับส่งผลให้การแทรกซึมของคลอไรด์และการกัดกร่อนเหล็กเสริมในคอนกรีตมีแนวโน้มสูงขึ้น การศึกษาครั้งนี้พบว่า การใช้เถ้าปาลม์นํ้ามันผสมในปูนซีเมนต์ ปอร์ตแลนดป์ระเภทที่ L ร้อยละ LM ถึง KM โดยนําหนักวัสดุประสาน ที่มี W/B เท่ากับ N.ON ให้ความคงทนของคอนกรีตที่ใช้ในสิ่งแวดล้อมทะเลได้
อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากทำให้คอนกรีตมีกําลังอัดที่สูง และลดการแทรกซึมของคลอไรดแ์ละการเกิดสนิมเหล็กได้ดีที่สุด