DSpace Repository

การพัฒนาระบบตรวจสอบสารยับยั้งเอนไซม์โมโนเอมีน ออกซิเดสในพืชสมุนไพรไทยเพื่อใช้ป้องกันโรคทางสมองและบำบัดอาการติดบุหรี่

Show simple item record

dc.contributor.author ทรงกลด สารภูษิต
dc.contributor.author พรพิมล รงค์นพรัตน์
dc.contributor.author เอกรัฐ ศรีสุข
dc.contributor.author ปณิดา ดวงแก้ว
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-06-19T03:53:12Z
dc.date.available 2019-06-19T03:53:12Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3606
dc.description.abstract โรคทางระบบประสาทเช่น โรคซึมเศร้า โรคสมาธิสั้นและโรควิตกกังวลรวมไปถึงโรคพาร์กินสัน เป็นโรค ที่พบมากขึ้นในปัจจุบัน โดยหนึ่งในสาเหตุหนึ่งที่ส าคัญของอุบัติการณ์โรคเหล่านี้เกิดจากการทำงานของเอนไซม์โมโนเอมีนออกซิเดส (monoamine oxidase : MAO) ซึ่งประกอบไปด้วย 2 isoform คือ MAO-A และ MAOB ที่แตกต่างกันตรงบริเวณ active site ในสมองทำหน้าที่ย่อยสลายสารสื่อประสาท เช่น serotonine และ dopamine มากเกินไป นอกจากนี้ปฏิกิริยาการย่อยสลายโดปามีนยังส่งผลให้เกิดสารไฮโดรเจน เปอร์ออกไซด์ (H2O2) ที่สามารถเร่งให้เกิดกระบวนการลิพิดเปอร์ออกซิเดชั่น ที่ร่วมส่งผลให้เกิดอาการโรคทางสมองดังกล่าวข้างต้นขึ้น วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อพัฒนาระบบตรวจสอบการยับยั้งเอนไซม์ MAO โดยพัฒนาระบบตรวจสอบการยับยั้งเอนไซม์ MAO ของสารสกัดจากสมุนไพรไทยโดยใช้เอนไซม์ MAO จากสมองหมู (Sus domesticus) ที่ผู้วิจัยเตรียมขึ้น และตรวจสอบการยับยั้งเอนไซม์ MAO ด้วยวิธี ABTS assay ผลการศึกษาพบว่าส่วนสกัดจากเซลล์สมองหมูสามารถเร่งปฏิกิริยาการย่อยสลายสารประกอบ p-Tyramine ซึ่งใช้เป็นตัวตรวจสอบการทำงานของเอนไซม์ MAO ได้และสารสกัดหยาบจากสมุนไพรโกฐน้ าเต้าสามารถออกฤทธิ์ยับยั้งทั้ง MAO-A และ MAO-B ได้ดีที่สุดที่ค่า IC50 18.58 µg/ml และยังสามารถออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ MAO-B ได้ดีที่สุดที่ค่า IC50 18.26 µg/ml ส่วนสารสกัดที่ออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ MAO-A ได้ดีที่สุด คือหญ้าหมอน้อยที่ค่า IC50 3.526 µg/ml th_TH
dc.description.sponsorship โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject สมุนไพรไทย th_TH
dc.subject โรคทางสมอง th_TH
dc.subject การสูบบุหรี่ th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช th_TH
dc.title การพัฒนาระบบตรวจสอบสารยับยั้งเอนไซม์โมโนเอมีน ออกซิเดสในพืชสมุนไพรไทยเพื่อใช้ป้องกันโรคทางสมองและบำบัดอาการติดบุหรี่ th_TH
dc.title.alternative Development of inhibition assays for screening Thai medicinal plants against monoamine oxidases, pharmacotherapeutic target enzymes of neurological disorders and tobacco dependence th_TH
dc.type Research th_TH
dc.author.email songklod@buu.ac.th
dc.author.email ekaruth@buu.ac.th
dc.year 2559 th_TH
dc.description.abstractalternative Nowadays, the number of patients from many neurological disease, such as Depression, Attention Deficit disorder, and Anxiety including Parkinson's disease Disorders have been increasing. Monoamine Oxidase (MAO) has been report as an important mechanism of these neurological diseases development. MAO have 2 isoform; MAO-A and MAO-B; which are difference in their active site environment. In addition, lipid-peroxidation by the metabolic by product of Dopamine metabolism, the hydrogen peroxide (H2O2), has been proposed as another factor that could facilitated the progression of brain degenerative tissue in patients. This study aims to develop an assay method to screen for Thailand herbal extracts that could inhibit the MAO using pig (Sus domesticus) brain homolysate and ABTS assay. The results showed that the Pig brain homogenate could functionally metabolite tyramine probe substrate and Rheum palmatum L. extract could potently inhibited Pig brain MAO-A and MAO-B with an IC50 value at 18.58 µg/ml. Interestingly, R palmatum also potently inhibited Pig brain MAO-B with an IC50 value 18.26 µg/ml, while Vernonia cenerea could potently Pig brain MAO-A with an IC50 value at 3.526 µg/ml en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account