DSpace Repository

การศึกษาการจำแนกชนิดของสารประกอบสารหนูในสิ่งแวดล้อม

Show simple item record

dc.contributor.author อภิญญา นวคุณ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-05-18T09:21:01Z
dc.date.available 2019-05-18T09:21:01Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3564
dc.description.abstract โครงการวิจัยนี้ได้ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการวิเคราะห์สารประกอบสารหนู 4 ชนิด ได้แก่ สารหนูอนินทรีย์ 2ชนิด และสารหนูอินทรีย์ 2 ชนิด โดยใช้การเตรียมอนุพันธ์ไฮไดรด์ภายใต้สภาวะที่เป็นกรด โดยการควบคุมความเป็นกรดจะจําเพาะต่อชนิดของสารหนูอนินทรีย์ที่เกิดอนุพันธ์ โดยหลังจากเกิดอนุพันธ์แล้วทําการวิเคราะห์ด้วยเทคนิคเพริจ์แอนด์แทรป-แก๊สโครมาโทกราฟีแมสสเปกโตรเมทรีนอกจากนี้ได้ศึกษาการสกัดสารประกอบสารหนูจากตัวอย่างของแข็งด้วยเทคนิคการสกัดโดยอัลตราโซนิกเมื่อได้สภาวะที่เหมาะสมในการวิเคราะห์ได้ทําการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของวิธีพบว่าวิธีที่นําเสนออยู่ในเกณฑ์ตามมาตรฐานสากล นอกจากนี้ได้ประยุกต์ในการวิเคราะห์ปริมาณสารประกอบสารหนูในตัวอย่างน้ำทะเลบริเวณอ่างศิลา แหลมแท่น และหาดวอนนภา โดยเก็บตัวอย่างทุกเดือน เป็นเวลา 2 ปี ผลการศึกษาพบสารหนูในตัวอย่างในปริมาณที่ต่ำกว่าค่มาตรฐานที่กําหนดโดยกรมควบคุมมลพิษ th_TH
dc.description.sponsorship โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject สารประกอบอาร์เซนิก -- การวิเคราะห์ th_TH
dc.subject สารประกอบอาร์เซนิก th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช th_TH
dc.title การศึกษาการจำแนกชนิดของสารประกอบสารหนูในสิ่งแวดล้อม th_TH
dc.title.alternative The study of arsenic speciation in environment en
dc.type Research th_TH
dc.author.email apinya@buu.ac.th
dc.year 2560 th_TH
dc.description.abstractalternative This research project, the optimum conditions for analysis of 4 species of arsenic compounds, 2 inorganic species and 2 organic species, were studied. The arsenic compounds were derivatized to hydride derivatives under acidic condition. The inorganic arsenic speciation was performed by controlling the acidity of the solution. After derivatization step, the arsenic derivatives were analysis by purge and trap - gas chromatography mass spectrometry. In addition, the ultrasonic extraction technique for extraction of arsenic compounds was carried out. Under the optimum analysis condition, the propose method was validated. The validation results indicated that this method was accepted under international standard method. Moreover, this method was applied for analysis arsenic compounds in sea water samples. The sea water samples were collected every month for 2 years from Angsila, Lamtan, and Wonnapha beach. The research results found the amount of arsenic compounds below the standard value from Pollution control department en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account