DSpace Repository

ผลของการเปลี่ยนแปลงทางประชากรต่อพฤติกรรมการออมของครัวเรือนในประเทศไทย

Show simple item record

dc.contributor.author ศศิวุฑฒิ์ วงษ์มณฑา
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-05-02T03:58:28Z
dc.date.available 2019-05-02T03:58:28Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3535
dc.description.abstract สังคมผู้สูงอายุเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในระดับนานาประเทศรวมท้ังประเทศไทย การศึกษานี้ใช้ข้อมูลการสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนไทยระหว่างปี พ.ศ. 25444-2556 เพื่อศึกษาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางประชากรต่ออัตราการออมของครัวเรือนไทย ข้อมูลพาแนลสังเคราะห์ตามรุ่นเกิดถูกสร้างจากข้อมูลการสํารวจครัวเรือนแบบตัดขวางในหลายช่วงเวลาที่ต่อเนื่องกันโดยอาศัยกรอบแนวคิดสมมติฐานแบบวงจรชีวิต การวิเคราะห์สมการถดถอยใช้เพื่อประเมินผลเชิงปริมาณของอายุ รุ่นเกิด และช่วงเวลาต่ออัตราการออมครัวเรือน ผลการประมาณค่า พบว่า รุ่นเกิดของหัวหน้าครัวเรือนมีส่วนสําคัญในการกําหนดพฤติกรรมการออมของครัวเรือน ความสัมพันธ์ของอายุกับการออมใกล้เคียงกับสมมติฐานวงจรชีวิต อย่างไรก็ตาม การออมของครัวเรือนที่หัวหน้าครัวเรือนอยู่ในช่วงอายุ 30-45 ปี แทบจะไม่เปลี่ยนแปลงและอัตราการออมของหัวหน้าครัวเรือนที่เกษียณอายุกลับลดลงเพียงเล็กน้อย อัตราการออมเพิ่มขึ้นทุกรุ่นเกิด ครัวเรือนรุ่นใหม่มีแนวโน้มจัดสรรงบประมาณ รายจ่ายครัวเรือนในสัดส่วนที่สูงให้กับการศึกษา สุขภาพ และการประกัน ปัจจัยด้านประชากรช่วยอธิบายแบบแผนการออมของครัวเรือน ขนาดครัวเรือนและจํานวนผู้สูงอายุมีความสัมพันธ์ทางบวกกับอัตราการออมของครัวเรือน ในขณะที่จํานวนเด็กทําให้ครัวเรือนมีอัตราการออมลดลง โดยภาพรวม ผลการศึกษาครั้งนี้ไม่ได้สนับสนุนความเชื่อทั่วไปที่ว่า การเป็นสังคมผู้สูงอายุส่งผลกระทบในทางลบต่อการออมของครัวเรือน คําอธิบายที่เป็นไปได้ต่ออัตราการออมของครัวเรือนไทยที่เพิ่มขึ้นอาจมากจากการออมเพื่อยามฉุกเฉินและแรงจูงใจในการสร้างมรดกให้ลูกหลานในบริบทที่ระบบการเงินและระบบบํานาญของประเทศไทยยังมีช่องว่างสําหรับการปรับปรุงให้ดีขึ้น th_TH
dc.description.sponsorship โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การประหยัดและการออม th_TH
dc.subject ครัวเรือน -- ไทย th_TH
dc.subject สาขาเศรษฐศาสตร์ th_TH
dc.title ผลของการเปลี่ยนแปลงทางประชากรต่อพฤติกรรมการออมของครัวเรือนในประเทศไทย th_TH
dc.title.alternative The impact of demographic transition on household saving behavior in Thailand en
dc.type Research
dc.author.email Sasiwooth@buu.ac.th th_TH
dc.year 2561
dc.description.abstractalternative The aging society is a global phenomenon including Thailand. This study uses six rounds of the Household Socioeconomic surveys of Thailand (SES) during 2001-2013 to examine the impact of demographic transition on the saving rate of Thai households. The synthetic cohort panels are constructed from the series of repeated cross-sectional SES data using the framework of Life-Cycle Hypothesis (LCH). Regression analysis is applied to quantify separately age, cohort, and time effects on saving rates. Estimation results show a strong cohort effect determining household saving behavior, evaluated from the year of birth of the household heads. The age profile of savings are broadly consistent with the LCH; however, it reveals an almost unchanged saving rates among household heads aged 30-45 and the slight decline in the saving rates for retired household heads. Saving rates are increasing for every age cohort. Young cohort households are likely to allocate a high proportion of their total spending to education, health, and insurance. Demographic factors help explain the household saving patterns. Family size and the number of elderly are positively correlated with the household saving rates, while the number of children decreases the saving rates. Overall, the analysis conducted in this study are less supportive of the convention view that population aging adversely affect the household savings. The most likely explanations for the increase in the saving rates of Thai households are due to precautionary savings and bequest motives in the context that the financial and pension systems of Thailand still have room for improvement en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account