DSpace Repository

นวัตกรรม แนวความคิด และวิธีการ การจำลองภาพเสมือนจริงที่มีมุมมองภาพที่สมบูรณ์ ของจิตรกรรม ฝาผนังในอุโบสถวัดเกาะแก้วสุทธาราม จังหวัดเพชรบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author ชัยยศ วนิชวัฒนานุวัติ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-04-30T01:42:43Z
dc.date.available 2019-04-30T01:42:43Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3532
dc.description.abstract การวิจัยเรื่อง นวัตกรรม แนวความคิด และวิธีการ การจำลองภาพเสมือนจริงที่มีมุมมองภาพที่ สมบูรณ์ของจิตรกรรมฝาผนังในอุโบสถ วัดเกาะแก้วสุทธาราม จังหวัดเพชรบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาการนำเสนอภาพจำลอง เสมือนจริงของจิตรกรรมฝาผนังที่มีมุมมองภาพที่สมบูรณ์ มองเห็นภาพอยู่ใน ระดับสายตาและปราศจากสิ่งบดบังภายในอุโบสถ ด้วยนิทรรศการอิเล็กทรอนิกส์ (2) เพื่อให้บุคคลทั่วไป สามารถรับรู้เนื้อหาเรื่องราวรูปแบบทางทัศนศิลป์และเทคนิควิธีของจิตรกรรมฝา ผนังในอุโบสถวัดเกาะแก้วสุทธาราม จังหวัดเพชรบุรีได้ดีขึ้น การวิจัยนี้เป็นการวิจัยสร้างสรรค์เชิงปริมาณ ใช้วิธีการรวบรวมข้อมูลในการศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและงานวิจัย การสำรวจ การประดิษฐ์ อุปกรณ์สำหรับถ่ายภาพจิตรกรรมฝาผนัง การจำลองภาพเสมือนจริง การพัฒนาการนำเสนอภาพจำลองเสมือนจริงของจิตรกรรมฝาผนังด้วย นิทรรศการอิเล็กทรอนิกส์ และเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า นวัตกรรม แนวคิด และวิธีการ ในการจำลองภาพเสมือนจริงสามารถพัฒนา รูปแบบการนำเสนอมุมมองภาพที่สมบูรณ์ของจิตรกรรมฝาผนัง ได้ด้วยนิทรรศการอิเล็กทรอนิกส์ การนำเสนอมุมมองภาพที่สมบูรณ์ของจิตรกรรมฝาผนังด้วยนิทรรศการอิเล็กทรอนิกส์ พบว่า บุคคลทั่วไปสามารถรับรู้เนื้อหาเรื่องราวรูปแบบทางทัศนศิลป์และเทคนิควิธีดังนั้นการรับรู้ด้านเนื้อหา เรื่องราวของจิตรกรรมฝาผนัง อยู่ในระดับดี การมองเห็นภาพจิตรกรรมมีความสมบูรณ์ต่อเนื่อง ถ่ายทอดเนื้อหาเรื่องราวได้อย่างสมบูรณ์มีความชัดเจนและต่อเนื่องการรับรู้ด้านรูปแบบทัศนศิลป์และเทคนิควิธีอยู่ในระดับดีมาก ในเรื่องการมองเห็นสี และความต่อเนื่องของภาพจิตรกรรมของแต่ละผนังภาพ และอยู่ในระดับดีในเรื่องของการมองเห็นลักษณะภาพเกี่ยวกับการจัดองค์ประกอบ การจัดวางภาพ ขนาด สัดส่วนการตัดเส้นระบายสี และความคมชัด th_TH
dc.description.sponsorship โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณเงินแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (เพิ่มเติม) มหาวิทยลัยบูรพา th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject วัดเกาะแก้วสุทธาราม th_TH
dc.subject จิตรกรรมฝาผนัง -- ไทย -- เพชรบุรี th_TH
dc.subject โบสถ์ -- ไทย -- เพชรบุรี th_TH
dc.subject วัด th_TH
dc.subject สถาปัตยกรรมพุทธศาสนา -- ไทย th_TH
dc.subject สาขาปรัชญา
dc.title นวัตกรรม แนวความคิด และวิธีการ การจำลองภาพเสมือนจริงที่มีมุมมองภาพที่สมบูรณ์ ของจิตรกรรม ฝาผนังในอุโบสถวัดเกาะแก้วสุทธาราม จังหวัดเพชรบุรี th_TH
dc.title.alternative Innovation, concepts, and methodoligs of photorealistic simulation with a complete visual view of the mural painting in an ordinationhall, Ko Keaw Suttaram Buddhist Temple, Phetchaburi Province en
dc.type Research th_TH
dc.author.email chaiyode@buu.ac.th
dc.year 2560 th_TH
dc.description.abstractalternative Innovation, Concept and Methodology of Photorealistic Simulation with a Complete Visual View of Mural Painting in an Ordination Hall, Kokaewsuttharam Buddish Temple, Petchaburi There are 2 main objectives of this art research. Firstly, to develop the presentation of Innovation, Concept and Methodology of Photorealistic Simulation with a Complete Visual level without the obstruction through the electronic exhibition in the Ordination Hall. And to acknowledge the information of the studied area, art aesthetic and mural painting techniques. This quantitative research was completed by using literature review and observation methods, then the data was developed to be the invention of mural painting photorealistic simulation tools, which is the inspiration idea to create the electronic exhibition. Finally, the result of the outcome was collected from gathering questionnaire as standard deviation statistics The finding obviously shows that the Innovation, Concept and Methodology of Photorealistic Simulation can be developed to present the Complete Visual View of Mural Painting through electronic exhibition. It can acknowledge people in high- level to understand the content of art visualization, format and techniques. Additionally, the visual view of the mural painting is continually and clear communication with excellent techniques of design as composition, layout, size, shape, drawing, line painting and image resolution en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account