dc.contributor.author |
วิชมณี ยืนยงพุทธกาล |
|
dc.contributor.author |
สุวรรณา วรสิงห์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-04-17T06:49:27Z |
|
dc.date.available |
2019-04-17T06:49:27Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3506 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้มีความมุ่งหมายยืดอายุการเก็บสาหร่ายพวงองุ่นพร้อมบริโภคโดยการเคลือบผิวด้วย
สารเคลือบที่บริโภคได้จากการศึกษาเบื้องต้นพบว่า การใช้สารเคลือบไคโตซานและว่านหางจระเข้ให้ผลดีต่อการยืดอายุการเก็บสาหร่ายพวงองุ่นพร้อมบริโภคได้ แต่การใช้ว่านหางจระเข้มีแนวโน้มให้ค่าการสูญเสียน้้าหนักต่้ากว่า จากการศึกษาผลของการลวกและความเข้มข้นของกรดซิตริก (0.5 และ 1.0%) ในสารเคลือบจากเจลว่านหางจระเข้ต่อคุณภาพของสาหร่ายพวงองุ่นระหว่างการเก็บ พบว่า สิ่งทดลองกลุ่มที่ผ่านการเตรียมขั้นต้นด้วยการเคลือบเจลว่านหางจระเข้เพียงอย่างเดียว มีค่าสี L* และ b* เพิ่มขึ้นเมื่อเวลาการเก็บรักษานานขึ้น (p<0.05) ได้รับคะแนนการยอมรับด้านความสดสูงที่สุดในด้านลักษณะปรากฏและความสดโดยรวม และทุกสิ่งทดลองที่ผ่านการเตรียมขั้นต้นมีปริมาณจุลินทรีย์ทั้งหมด ยีสต์และราผ่านเกณฑ์ด้านความปลอดภัยส้าหรับการบริโภคตลอดการเก็บรักษา 15 วัน การเตรียมขั้นต้นด้วยการเคลือบเจลว่านหางจระเข้ที่ใช้กรดซิตริก 0.5% มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงค่าสี L* a* และ b* ค่าการสูญเสียน้้าหนัก และปริมาณกรดทั้งหมด น้อยที่สุดตลอดระยะเวลาการเก็บ จากการศึกษาผลของเวลาการแช่ภายใต้สภาวะสุญญากาศ (0 1 3 และ 5 นาที) ต่อคุณภาพของสาหร่ายพวงองุ่นระหว่างการเก็บรักษา พบว่าเมื่อระยะเวลาการสุญญากาศเพิ่มขึ้นมีผลท้าให้ค่าสี L* และ b* ค่าความแน่นเนื้อ และปริมาณจุลินทรีย์ทั้งหมดลดลง (p<0.05) แต่ปริมาณฟีนอลิกทั้งหมดและสมบัติการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระเพิ่มขึ้น (p<0.05) และทุกสิ่งทดลองมีค่าสี a* ค่าการสูญเสียน้้าหนัก ปริมาณกรดทั้งหมด ปริมาณคลอโรฟิลล์ และคะแนนการยอมรับความสดโดยรวมมีค่าไม่แตกต่างกัน (p≥0.05) และสาหร่ายพวงองุ่นที่ผ่านการเคลือบภายใต้สภาวะสุญญากาศ 5 นาที มีค่าความแน่นเนื้อต่้าที่สุด แต่มีค่าปริมาณฟีนอลิกทั้งหมดและสมบัติการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระมีค่าสูงที่สุด |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล
(งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
สาหร่ายพวงองุ่น |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช |
th_TH |
dc.title |
การยืดอายุการเก็บสาหร่ายพวงองุ่นพร้อมบริโภค โดยการเคลือบผิวด้วยสารเคลือบที่บริโภคได้ |
th_TH |
dc.title.alternative |
Shelf Life Extension of Ready to Eat Green Caviar (Caulerpa lentillifera) using Edible Film Coating |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.author.email |
wich@buu.ac.th |
|
dc.year |
2560 |
|
dc.description.abstractalternative |
This research aimed to extend ready to eat green caviar (Caulerpa lentillifera)
shelf life using edible film coating. From the preliminary study, the results reveal that
using chitosan and aloe vera gel coating seems to give an advantage effect of enhancing
the shelf life of ready to eat green caviar. However, aloe vera gel coating trend to lower
weight loss. The effect of blanching and concentration of citric acid (0.5 and 1.0%)
added into aloe vera gel on the quality of the green caviar during storage were
investigated. L* and b* of unblanched green caviar coated with alole vera gel increased
with storage time (p <0.05), resulting in highest freshness score in terms of appearance
and overall freshness. All pretreated samples stored for 15 days had safety amount of
bacteria, yeast and mold for consumed. Green caviar coated with aloe vera gel added
0.5% citric resulted slightly change of L* a* b* color, weight loss and total acidity during
storage. The effect of vacuum impregnation time (0, 1, 3 and 5 min) on the quality of
the green caviar during storage was studied. It was found that L*, b*, firmness and total
microorganisms were increased with vacuum impregnation time (p <0.05), whereas total
phenolic content and antioxidant activity were decreased (p <0.05). Values of a* color,
weight loss, total acidity content, chlorophyll content as well as overall freshness
acceptability were not significantly different among all samples (p≥0.05). Green caviar
coated under vacuum for 5 minutes resulted lowest firmness but highest total phenolic
compound and antioxidant activity |
en |