DSpace Repository

การเติมท่อนาโนคาร์บอนด้วยโบรอนและไนโตรเจนสำหรับประยุกต์เป็นตัวตรวจจับแก๊สและบำบัดน้ำ

Show simple item record

dc.contributor.author ชัยศักดิ์ อิสโร
dc.contributor.author เอกพงษ์ สุวัฒนมาลา
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-04-06T09:25:10Z
dc.date.available 2019-04-06T09:25:10Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3484
dc.description.abstract งานวิจัยนี้แสดงการพัฒนาตัวกรองจากท่อนาโนคาร์บอนที่กระจายตัวบนกระดาษกรอง (MWCNT/paper) เพื่อศึกษาความสามารถในการดูดซับโลหะหนักและเชื้ออีโคไล ภายใต้การปรับปรุงท่อนาโนคาร์บอนที่เงื่อนไขต่าง ๆ ทั้งที่มีการปรับสภาพพื้นผิวของท่อนาโนคาร์บอนและการเติมอนุภาคนาโนของเหล็กร่วมกับท่อนาโนคาร์บอน เมื่อนําตัวกรองจากวัสดุผสมระหวางท่อนาโนคาร์บอนเจือไนโตรเจนกับอนุภาคนาโนแม่เหล็กของเหล็กออกไซด์ (Fe3O4/N-MWCNT/paper) มาทดสอบกับสารละลายของ Cu2+และ Cr2+ ที่ความเข้มข้น 1.5 mg/L เป็นเวลา 1 ชั่วโมง พบวาตัวกรองดังกล่าวมีเปอร์เซ็นต์การการจัดสารละลาย Cu2+ มีค่าสูงกว่า สารละลาย Cr2+ เนื่องจากประจุที่พื้นผิวของไอออนของทองแดงมีค่ามากกวาประจุที่พื้นผิวของไอออนของโครเมียมและเมื่อนําตัวอยางตัวกรองแต่ละชนิดมาทําการศึกษาการดูดซับสารละลาย Cu2+ ผลการเปรียบเทียบค่าประสิทธิภาพของการดูดซับไอออนของ Cu2+ พบว่าตัวอย่างตัวกรองของ ่ Fe3O4/N-MWCNT/paper>Fe3O4/MWCNT/paper> N-MWCNT-COOH/paper > MWCNT-COOH/paper > MWCNT /paper ตามลําดับ นอกจากนี้ เมื่อนําวัสดุผสมระหวางท่อนาโนคาร์บอนเจือไนโตรเจนกับอนุภาคนาโนแม่เหล็กของเหล็กออกไซด์ (Fe3O4/N-MWCNT) มาใช้เป็นตัวดูดซับเชื้ออีโคไลในการบําบัดน้ำ เพื่อศึกษาการดูดซับเชื้ออีโคไลที่ความเข้มข้นเริ่มต้นต่าง ๆ 3.02 ± 0.07, 4.02 ± 0.07 และ 5.02 ±0.07 log CFU/mL ผลจํานวนของเชื้ออีโคไลที่รอดชีวิตจะลดลงขึ้นอยูกับเวลาที่สัมผัสกับ Fe3O4/N-MWCNT โดยแสดงเปอร์เซ็นต์อัตราการลดลงของเชื้ออีโคไลที่รอดชีวิตเพิ่มขึ้นเมื่อสัมผัสกับ Fe3O4/N-MWCNT ที่เวลามากขึ้นและเมื่อจํานวนเชื้อเริ่มต้นมีปริมาณน้อย th_TH
dc.description.sponsorship โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ 2558 th_TH
dc.language.iso th en
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ท่อนาโนคาร์บอน th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ th_TH
dc.title การเติมท่อนาโนคาร์บอนด้วยโบรอนและไนโตรเจนสำหรับประยุกต์เป็นตัวตรวจจับแก๊สและบำบัดน้ำ th_TH
dc.title.alternative The Doping of Carbon Nanotubes with Boron and Nitrogen for Applications in Gas Sensor and Water Treatment en
dc.type Reaearch th_TH
dc.author.email chaisak@buu.ac.th th_TH
dc.author.email akapong@buu.ac.th th_TH
dc.description.abstractalternative In this research, the development of filters from carbon nanotubes distributed on filter paper (MWCNT/paper) was used to study the adsorption capacity of heavy metals and E.coli bacteria. Under the modified carbon nanotube conditions using improved the surface and the addition of iron nanoparticles onto the carbon nanotube surface were done. The filter derived from the nitrogen doped-carbon nanotube/ iron oxide magnetic nanoparticle composites (Fe3O4/N-MWCNT/paper) was tested with a solution of Cu2 + and Cr2 + at 1.5 mg/L for 1 hour. The obtained results showed that the percentage removal of Cu2 + solution is higher than that of Cr2 +, which due to the higher charge on the surface of the copper ions compared with the charge on the surface of the ions of chromium. As a comparison result, the order of efficiency of adsorption of Cu2 +in sample filters are Fe3O4/N-MWCNT/paper > Fe3O4/MWCNT/paper > N-MWCNT-COOH/paper > MWCNT-COOH/paper > MWCNT/paper, respectively. In addition, the nitrogen doped-carbon nanotube / iron oxide magnetic nanoparticle composites (Fe3O4/N-MWCNT) is used an adsorbent for E-coli in the treatment of water using the various E.coli initial concentrations of 3.02 ± 0.07, 4.02 ± 0.07 and 5.02 ± 0.07 log CFU / mL. The reducing of survival of number of E. coli depends on the contact time with Fe3O4 / N-MWCNT. The percentage reduction rate of survival of E. coli increases when the contact time with Fe3O4 / NMWCNT increases and the initial number of E.coil is less en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account