DSpace Repository

การสำรวจพรรณไม้ในป่าชายเลนและการประยุกต์ใช้ข้อมูลการสำรวจระยะไกลจากดาวเทียมเพื่อสร้างแผนที่ป่าชายเลนบริเวณปากแม่น้ำเวฬุ อำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author อนุกูล บูรณประทีปรัตน์
dc.contributor.author วิชญา กันบัว
dc.contributor.author ณัฐ สุขอึ้ง
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:18:53Z
dc.date.available 2019-03-25T09:18:53Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2797
dc.description.abstract จากการที่พื้นที่ป่าชายเลนในประเทศไทยถูกบุกรุกเป็นจำนวนมากทำให้ต้องมีการฟื้นฟูป่าชายเลนอย่างเร่งด่วนซึ่งต้องการข้อมูล เชิงพื้นที่ที่มีความถูกต้องสูง จึงเป็นที่มาของการวิจัยในครั้งนี้ที่มีจุดประสงค์เพื่อสำรวจพันธุ์ไม้ป่าชายเลนและประยุกต์ใช้ข้อมูลการสำรวจ ระยะไกลจากดาวเทียมเพื่อผลิตแผนที่กลุ่มพืชพรรณป่าชายเลนเพื่อการอนุรักษ์ พื้นที่ป่าชายเลนบริเวณปากแม่นน้ำเวฬุภายใต้ความดูแล ของสถานีพัฒนาทรัพยากรป่าชายเลนที่ 2 อำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี ถูกเลือกเป็นพื้นที่ศึกษาเนื่องจากมีความอุดมสมบูรณ์และความ หลากหลายทางชีวภาพสูง อย่างไรก็ตามยังมีพื้นที่ป่าชายเลนที่ต้องการการฟื้นฟูเป็นจำนวนมาก พืชพรรณป่าชายเลนที่ได้จากการสำรวจ มีทั้งหมด 26 ชนิด และจากการวิเคราะห์ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมไทยโชต พบว่าสามารถจำแนกพืชพรรณป่าชายเลนได้ 4 ชนิด ได้แก่ ไม้โกงกางใบเล็ก ไม้ตาตุ่มทะเล ไม้ฝาดดอกขาว และไม้ฝาดดอกแดง ความถูกต้องรวมของผลการจำแนกข้อมูลมีเพียงร้อยละ 34 เกิดจาก การแทรกตัวของไม้โกงกางใบเล็กที่ขึ้นกระจายครอบคลุมพื้นที่ศึกษา การผสมกันของค่าการสะท้อนของไม้โกงกางใบเล็กและไม้ชนิด พันธุ์อื่นเป็นเหตุให้ความถูกต้องของผลการจำแนกมีค่าตำ แนวทางการปรับปรุงอาจทำได้โดยการใช้ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมที่มี หลายช่วงคลื่นพิเศษ (Hyperspectral band) หรือข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมที่มีหลายช่วงคลื่น (Multispectral band) แต่มีรายละเอียด เชิงพื้นที่ที่สูงกว่าโดยพิจารณาปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยงข้องร่วมด้วย th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การสำรวจพรรณไม้ - - ไทย - - จันทบุรี th_TH
dc.subject ดาวเทียมในการวิเคราะห์ข้อมูลระยะไกล th_TH
dc.subject ป่าชายเลน - - ไทย - - จันทบุรี th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title การสำรวจพรรณไม้ในป่าชายเลนและการประยุกต์ใช้ข้อมูลการสำรวจระยะไกลจากดาวเทียมเพื่อสร้างแผนที่ป่าชายเลนบริเวณปากแม่น้ำเวฬุ อำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี th_TH
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 1
dc.volume 19
dc.year 2557
dc.description.abstractalternative Mangrove forests in Thailand were seriously encroached for human uses, resulting in rapid mangrove area deterioration. This requires urgent rehabilitation and high accurate spatial data to support. The objective of this research is to do the survey of mangrove species and apply satellite remote sensing for mangrove mapping and conservation. Mangrove forest areas in the Welu estuary under responsibility of Mangrove Resource Development Station 2, Khlung district, Chanthaburi province is chosen as the study site due to high species abundant and biodiversity. Fragment mangrove areas of this study site, however, strongly needs rehabilitation. Twenty-six mangrove species were identified in the field survey. THEOS imageries were digitally classified and resulted to 4 mangrove classes, namely Rhizophora apiculata, Excoecaria agallocha, Lumnitzera racemosa and Lumnitzera littorea. Overall mapping accuracy is only 34 percent because of Rhizophora apiculata scattered distribution over the study area. Mixed reflectances of Rhizophora apiculata and other mangrove species lead to low accuracy on classification. Using hyperspectral satellite or high spatial resolution images coupled with environmental data may help to improve mangrove type mapping. en
dc.journal วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal.
dc.page 24-36.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account