DSpace Repository

การกำจัดสีย้อมในน้ำทิ้งจากอุตสาหกรรมสิ่งทอด้วยถ่านกัมมันต์จากเปลือกปู

Show simple item record

dc.contributor.author ศศิธร มั่นเจริญ
dc.contributor.author อรดี ฤทธิชัย
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:18:53Z
dc.date.available 2019-03-25T09:18:53Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2790
dc.description.abstract งานวิจัยนี้ได้นำเสนอการเตรียมถ่านกัมมันต์จากเปลือกปูเพื่อใช้กำจัดสีย้อมในน้ำทิ้งจากอุตสาหกรรม สิ่งทอ พบว่าการคาร์บอไนเซชันถ่านด้วยการเผาเปลือกปูที่อุณหภูมิ 400 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 90 นาที และกระตุ้นถ่านคาร์บอไนเซชันด้วยซิงก์คลอไรด์ในอัตราส่วนน้ำหนักแห้งของถ่านต่อซิงก์คลอไรด์ 1:2 ที่อุณหภูมิ 650 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 120 นาที เป็นภาวะที่เหมาะสมสำหรับการเตรียมถ่านกัมมันต์ นอกจากนี้ได้ศึกษาปัจจัยอื่น ๆ ที่มีผลต่อการดูดซับสี เมทิลีนบลู ได้แก่ ปริมาณถ่านกัมมันต์ เวลาเข้าสู่สมดุล ความเป็นกรดด่าง และไอโซเทอมของการดูดซับ จากผลการทดลองพบว่า ปริมาณถ่านที่เหมาะสมในการดูดซับเท่ากับ 32 กรัมต่อลิตร เวลาในการดูดซับที่เหมาะสมเท่ากับ 150 นาที ความเป็นกรดด่างเท่ากับ 5.0 และไอโซเทอมของการดูดซับของถ่านกัมมันต์จากเปลือกปูสอดคล้องกับไอโซเทอมของแลงเมียร์ และเมื่อนำถ่านกัมมันต์ที่ได้ไปประยุกต์ใช้สำหรับการกำจัดสีย้อมในน้ำทิ้งจากโรงงานฟอกย้อม พบว่า สีย้อม ในน้ำทิ้งตัวอย่างมีความเข้มสีลดลงร้อยละ 63.5 – 75.6 ในการบำบัดเพียงครั้งแรก th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject คาร์บอนกัมมันต์ th_TH
dc.subject น้ำเสีย - - การบำบัด - - การกำจัดสี th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.subject เปลือกปู th_TH
dc.title การกำจัดสีย้อมในน้ำทิ้งจากอุตสาหกรรมสิ่งทอด้วยถ่านกัมมันต์จากเปลือกปู th_TH
dc.title.alternative Dye removal of textile wastewaters using crab shell activated carbon en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 1
dc.volume 19
dc.year 2557
dc.description.abstractalternative In this work, preparation procedure of crab shell activated carbon was developed for removal of dye in textile waste waters. The optimal conditions for the preparation were observed that the crab shell was carbonized at 400 °C for 90 min and activated by using zinc chloride with the ratio of the dry weight between charcoal and zinc chloride at 1:2 and then heated at 650 °C for 120 min. Additionally, some factors that affecting on the methylene blue (MB) adsorption such as amount of activated carbon, equilibrium time, pH and adsorption isotherm were investigated. It was found that the appropriated amount of charcoal to adsorb MB was 32 g/L, optimal contacting time was 150 min., and pH was 5.0. The adsorption behavior of activated charcoal fitted Langmuir isotherm. Furthermore, the obtained activated carbon was applied to remove dye in textile wastewaters. The results showed that color intensity of dye was decreased in the range of 63.5% – 75.6%. en
dc.journal วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal.
dc.page 131-140.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account