DSpace Repository

การพัฒนาเซลล์สืบพันธุ์ของปะการังแข็งในจังหวัดระยองหลังเหตุการณ์ปะการังฟอกขาว ปี พ.ศ. 2553 และน้ำท่วมใหญ่ปี พ.ศ. 2554

Show simple item record

dc.contributor.author อัญชลี จันทร์คง
dc.contributor.author นรินทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:18:52Z
dc.date.available 2019-03-25T09:18:52Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2786
dc.description.abstract แนวปะการังบริเวณภาคตะวันออกของประเทศไทย ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาวะ ภูมิอากาศจากทั้งเหตุการณ์ปะการังฟอกขาวที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2553 และกรณีน้าท่วมใหญ่ในปี พ.ศ. 2554 ซึ่งปัจจัยทาง สิ่งแวดล้อมเหล่านี้ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อการพัฒนาเซลล์สืบพันธุ์ของปะการัง จากการเฝ้าติดตามรูปแบบการพัฒนา เซลล์สืบพันธุ ์ของปะการังในบริเวณหมู่เกาะเสม็ดและหมู่เกาะมันจังหวัดระยองต่อเนื่องกันเป็ นเวลาหนึ่งปี พบว่าในเดือน กุมภาพันธ์ 2554 ซึ่งเป็นรอบการสืบพันธุ์ฤดูหลักรอบแรกหลังเหตุการณ์ปะการังฟอกขาว ปะการังส่วนใหญ่ไม่มี การพัฒนาเซลล์สืบพันธุ ์ ทั้งในบริเวณหมู่เกาะเสม็ดและหมู่เกาะมัน โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 69.9 และ 89.3 ตามลาดับ พบปะการังที่มีเซลล์สืบพันธุ์สมบูรณ์เพียง ร้อยละ 17.9 และ 10.7 ตามลาดับ แต่ในฤดูร้อนของรอบการสืบพันธุ์ที่สอง (กุมภาพันธ์ 2555) พบปะการังมีการพัฒนาเซลล์สืบพันธุ ์สมบูรณ์สูงขึ้นเป็นร้อยละ 29.8 และ 34.7 ตามลา ดับ การศึกษานี้ ยังเป็นการรายงานครั้งแรกในประเทศไทยที่พบปะการังวงศ์ Faviidae และ Mussidae มีเซลล์สืบพันธุ์สมบูรณ์ในฤดูรอง (ตุลาคม 2554) สูงถึงร้อยละ 39.5 และ 45.3 สาหรับการตอบสนองของปะการังแต่ละชนิดต่อการฟอกขาว พบว่าปะการัง Goniastrea spp. เป็นสกุลที่ได้รับผลกระทบจากการฟอกขาวน้อยกว่าปะการังสกุลอื่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนปะการังที่ได้รับผลกระทบสูงที่สุดคือ ปะการัง Favia spp. และ Platygyra spp. และยังพบความสัมพันธ์ระหว่าง ช่วงเวลาปล่อยเซลล์สืบพันธุ์กับอุณหภูมิของน้าทะเลในรอบปี ซึ่งปะการังจะมีการปล่อยเซลล์สืบพันธุ์ในช่วงที่อุณหภูมิ น้าทะเลเพิ่มขึ้นสูงสุดในรอบปี และช่วงที่ปริมาณน้าฝนลดลง ในระหว่างเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม และตุลาคม-พฤศจิกายน th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject ปะการัง - - การสืบพันธุ์ th_TH
dc.subject ปะการัง th_TH
dc.subject ปะการังฟอกขาว th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title การพัฒนาเซลล์สืบพันธุ์ของปะการังแข็งในจังหวัดระยองหลังเหตุการณ์ปะการังฟอกขาว ปี พ.ศ. 2553 และน้ำท่วมใหญ่ปี พ.ศ. 2554 th_TH
dc.title.alternative Reproduction in scleractinian corals following bleaching 2010 and flooding 2011 in Rayong province en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 1
dc.volume 20
dc.year 2558
dc.description.abstractalternative Coral reefs in the Eastern of Thailand had an impact from climate change resulting from both the coral reefs bleaching in 2010 and the massive inundation in 2011. The environmental changes in temperature and river runoff directly affected on corals gametogenesis. We investigated coral reproductive patterns between the first and the second annual reproductive cycles at Samet and Man islands, Rayong province. The findings showed that the majority observed colonies at both Samet and Man islands did not developed their gametes in February 2011 (the first reproductive cycle after the coral bleaching). Only 17.9% and 10.7% of colonies with mature gametes were found at Samet and Man islands, respectively. In February 2012 (the second cycle) colonies with mature gametes increased up to 29.8% and 34.7% at Samet and Man islands. Our findings are the first study reporting that Faviidae and Mussidae have mature gametes in October 2011 and the gametes rates were as high as 39.5% at Samet islands and 45.3% at Man islands. Statistical significant differences of responses to coral bleaching among taxa were found. Coral bleaching posted the least impact upon Goniastrea spp. whereas Favia spp. and Platygyra spp. were the most affected. We also found that spawning period correlate with sea temperature. Biannual spawning could be specifically observed during the peak sea temperature of the year and reduction of the precipitation between February- March and October-November. en
dc.journal วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal
dc.page 83-94.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account