dc.contributor.author |
เกรียงศักดิ์ เขียวมั่ง |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T08:47:22Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T08:47:22Z |
|
dc.date.issued |
2553 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/268 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายหลัก คือ เพื่อเพิ่มมูลค่าให้ทรัพยากร ภูมิปัญญาท้องถิ่นในผลิตภัณฑ์จักสาน อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี เพื่อเพิ่มช่องทางการขายออกสู่สากล โดยมีเป้าหมาย คือตลาดยุโรป และเพื่อออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์จักสาน ให้มีเอกลักษณ์เฉพาะ และเป็นที่ต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
จากการวิจัย ทดลองออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์จักสาน อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี พบว่าผลิตภัณฑ์โคมไฟแขวน C3 และผลิตภัณฑ์ไฟตั้งพื้น แบบ S2 มีความเหมาะสม ที่จะนำมาใช้เป็นแนวทางในการออกแบบและพัฒนารูปทรงหลัก เนื่องจากแนวโน้มของกลุ่มเป้าหมาย ในตลาดยุโรป มีความคุ้นเคยกับรูปทรงในเรขาคณิต และนิยมเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีรูปแบบเรียบง่าย ชอบใช้ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตมาจากวัสดุธรรมชาติและในการออกแบบผลิตภัณฑ์จักสาน ครั้งนี้ผู้วิจัยได้ใช้ความละเอียดของลวดลายสาน ที่กลุ่มชุมชนได้ช่วยกันพัฒนาและคิดค้นลวดลายร่วมกัน โดยนำมาประดับตกต่างโคมไฟให้มีองค์ประกอบการจัดวางอยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสมและยังสามารถอดปรับเปลี่ยน ตำแหน่งได้ตามใจของผู้ใช้
ด้านการกระจายสินค้าสู่ตลาดยุโรป ผู้วิจัยได้ออกแบบ การซื้อ การขาย การติดต่อและการจัดส่งสินค้า ผ่านระบบการตลาดแบบ E-Commerce เพื่อเพิ่มช่องทางการตลาดสู่กลุ่มเป้าหมาย ซึ่งผู้ที่สนใจสามารถนำไปพัฒนาต่อยอดในเชิงพาณิชย์ได้เป็นอย่างดี
The main aim of this academic research is to able to magnify the value of local resources and basketry folk wisdom Phanat nikhom, Chon buri Province in order to extend distribution channels out there to the international market, create a unique identity of the products and also suite to what target audience wants.
According the research result, expertimenting on the design and as well developing basketry products from Phanat nikhom, Chon buri province itself, the researcher found that the C3 hanging lamp and the S2 stand lamp were suitable to be developed further on the design of these two forms. Since the European market to be interested and familiar to more geometric forms and also they prefer the simple forms of the products than others. This target market as well favors products that made from natural materials. Consequently to the result, the researcher has used the delicacy of basketry patterns which designed and developed from the local people together with the research team. The patterns were used to decorate the lamps harmoniously with the composition and form. They also can be took off and adapted positions comfortably users themselves.
In terms of distribution channel for these products to European market, the researcher has designed the selling, the purchasing, and the delivering through the system of E-commerce in order to create an easily way for the products to be opened up to the more international market audiences. In addition, if there are anyone who interesting on this project, they can also take this up further to next level in more commercial way also. |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
งานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากเงินงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
การออกแบบ |
th_TH |
dc.subject |
เครื่องจักสาน |
th_TH |
dc.title |
การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์จักสาน อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี เพื่อการส่งออกตลาดยุโรป |
th_TH |
dc.title.alternative |
Design and Development of Phanat Nikhom Basketry, Chon buri for European market |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.year |
2553 |
|