dc.contributor.author |
พิมพ์ทอง ทองนพคุณ |
|
dc.contributor.author |
อรุณี เทอดเทพพิทักษ์ |
|
dc.contributor.author |
เมธินี จามกระโทก |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:18:44Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:18:44Z |
|
dc.date.issued |
2557 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2651 |
|
dc.description.abstract |
พาราอิบาทัวร์มาลีนคือทัวร์มาลีนสีฟ้าอมเขียวหรอเขียวอมฟ้า ซึ่งเกิดจากธาตุให้คีอทองแดงและแมงกานีสทัวร์มาลีนชนิดนี้ จัดเป็นอัญมณีที่หายากและราคาสูง งานวิจัยนี้ทําปรับปรุงสีของทัวร์มาลีนสีม่วงจากแหล่งโมแซมบิคโดยการให้ความร้อนภายใต้สภาวะบรรยากาศแบบออกซิเดชันที่อุณหภูมิ 400-600 องศาเซลเซียส ภายใต้สภาวะการเผาที่เหมาะสมนี้ทัวร์มาลีนสีม่วงจาก
โมแซมบิคเปลี่ยนเป็นสีฟ้าอมเขียว ผลของ EDXRF พบว่ามีทองแดงและแมงกานีสเป็นองค์ประกอบการศึกษาการเปลี่ยนแปลงสีและสเปกตรัมการดูดกลืนแสงของทัวร์มาลีนก่อนและหลังเผาด้วยเทคนิคยูวีวิสิเบิลเนียร์ไออาร์สเปกโทรสโกปี พบว่าทัวร์มาลีนสีม่วงก่อนเผามีแถบการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 525 นาโนเมตรซึ่งเป์นการดูดกลืนแสงของ Mn3+ ในขณะที่การดูดกลืนแสงที่ตําแหน่ง 690 และ 900 นาโนเมตรเป็นแถบการดูดกลืนแสงของ Cu2+ ซึ่งสัมพันธ์กับการเกิดสีฟ้าในทัวร์มาลีน นอกจากนี้พบแถบการดูดกลืนที่ตําแหน่ง 1316, 1430 และ 1478 นาโนเมตรสัมพันธ์กับการดูดกลืนของ OH ของโมเลกุลน้ำในโครงสร้างของทัวร์มาลีนทัวร์มาลีนที่ผ่านการเผาพบค่าการดูดกลืนแสงที่ตําแหน่ง 525 นาโนเมตรลดลงอย่างเห็นได้ชัด และพบพีคใหม่ของ OH ที่ตําแหน่ง 1400 นาโนเมตร |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
ทัวร์มาลีน |
th_TH |
dc.subject |
พาราอิบา |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช |
th_TH |
dc.title |
การปรับปรุงคุณภาพพาราอิบาทัวร์มาลีนจากแหล่งโมแซมบิคด้วยความร้อน |
th_TH |
dc.title.alternative |
Heat treatment of paraiba-typemozambique tourmalines |
en |
dc.type |
บทความวารสาร |
th_TH |
dc.issue |
ฉบับพิเศษ การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์วิจัยครั้งที่ 6 |
|
dc.volume |
19 |
|
dc.year |
2557 |
|
dc.description.abstractalternative |
A paraiba tourmaline is a bluish green to greenish blue tourmaline, mainly due to the presence of copper (Cu) and manganese (Mn). The tourmaline is one of the rarest and most expensive gemstones. In this research, theviolet Mozambique tourmalines were heated in oxidizing condition at 400-600ºC in order to improve their colors. Under optimal conditions, the heating treatment can change violet colors of tourmalines to turn into blue shade. The EDXRF results identify the presence of Cu and Mn in the tourmalinespecimens. UV/VIS/NIR spectrophotometer was employed to study the color changing and absorption spectra of tourmalines. The absorption spectra of unheated
tourmaline reveal the characteristic absorption bands at 525 nm which assigned as absorption of Mn3+ while the bands at 690 and 900 nm are assigned as absorption of Cu2+ which related to blue color of tourmaline. In addition, the absorption bands at 1316, 1430 and 1477 nm are OH absorption band of H2O in tourmaline structure. After
heating, the heated tourmalines reveal obviously decreasing of absorption band at 525 nm and increasing a new band of OH absorption at 1400 nm |
en |
dc.journal |
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha Science Journal |
|
dc.page |
298-303. |
|