dc.contributor.author |
เบญจวรรณ ชิวปรีชา |
|
dc.contributor.author |
เอกรัฐ ศรีสุข |
|
dc.contributor.author |
กล่าวขวัญ ศรีสุข |
|
dc.contributor.author |
เสาวนีย์ สีมาขันธ์ |
|
dc.contributor.author |
ปริยาภา เกตุกล |
|
dc.contributor.author |
พรสุดา กันแก้ว |
|
dc.contributor.author |
กาญจนา หริมเพ็ง |
|
dc.contributor.author |
คํารณ เลียดประถม |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:18:44Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:18:44Z |
|
dc.date.issued |
2557 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2650 |
|
dc.description.abstract |
การศึกษานี้ทําการประเมินฤทธิ์ต้านการอักเสบ และวิเคราะห์ปริมาณสารประกอบฟีนอลรวมของส่วนสกัดเอทานอล และส่วนสกัดน้ำของพืชสมุนไพร 15 ชนิด จากโครงการพัฒนาป่าชุมชนบ้านอ่างเอ็ด จังหวัดจันทบุรีการประเมินฤทธิ์ต้านการอักเสบ ทําโดยวิเคราะห์การยับยั้งการผลิตไนตริกออกไซด์ (nitric oxide) และพรอสตาแกลนดิน E2 (prostaglandin E2) ในเซลล์แมคโครฟาจ RAW 264.7 ที่ถูกกระตุ้นด้วยไลโพพอลิแซกคาไรด์ (lipopolysaccharide) ทดสอบความมีชีวิตรอดของเซลล์แมคโครฟาจที่สัมผัสกับส่วนสกัดของพืชโดยวิธี MTT และตรวจสอบปริมาณสารประกอบฟีนอลรวมโดยวิธี Folin-Ciocalteu
ผลการศึกษาพบว่าส่วนสกัดของพืชสมุนไพรที่ศึกษามีฤทธิ์ต้านอักเสบ ส่วนสกัดใบสาบแร้งสาบกามีฤทธิ์ในการต่านการอักเสบสูงที่สุด โดยไม่มีความเป็นพิษต่อเซลล์นอกจากนี้พบว่าความสามารถในการต้านอักเสบและปริมาณสารประกอบฟีนอลรวมของส่วนสกัดมีความสัมพันธ์ที่ต่ํา ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าใบสาบแร้งสาบกาเป็นแหล่งของสารต้านอักเสบตามธรรมชาติที่ดี
The present study was performed to evaluate anti-inflammatory activity and total phenolic contents of
ethanolicand water extracts of 15 medicinal plants from Ban Ang-Ed official community forest, Chantaburi Province.
The anti-inflammatory activitywas determined by measuring an inhibitory effect onnitric oxide and prostaglandin E2
production in lipopolysaccharide-stimulated RAW 264.7 macrophages. The cell viability of macrophages exposed
to the plant extracts was determined by MTT assay. Total phenolic contents were estimated by Folin-Ciocalteu
method.The results show that anti-inflammatory activity was observed in the studied plant extracts.The extract from
Ageratum conyzoidesLinn leaves exhibited the highest anti-inflammatory activity withno significant cytotoxicity.
Additionally, the correlation of anti-inflammatory activity and total phenolic contents of the extracts was low. These
obtained results indicated that leavesof A. conyzoidesare good sources of natural anti-inflammatory agents. |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
พืชสมุนไพร |
th_TH |
dc.subject |
ฤทธิ์ต้านอักเสบ |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา |
th_TH |
dc.subject |
สารประกอบฟีนอล |
th_TH |
dc.title |
ฤทธิ์ต้านการอักเสบของพืชสมุนไพรบางชนิดในโครงการพัฒนาป่าชุมชนบ้านอ่างเอ็ด จังหวัดจันทบุรี. |
th_TH |
dc.type |
บทความวารสาร |
th_TH |
dc.issue |
ฉบับพิเศษ ประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์วิจัย.่ |
|
dc.volume |
19 |
|
dc.year |
2557 |
|
dc.journal |
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha Science Journal.่ |
|
dc.page |
304-311. |
|