dc.contributor.author |
อภินทร์พร ทวีพรกลพัฒน์ |
|
dc.contributor.author |
ปิยะวรรณ ศรีวิลาศ |
|
dc.contributor.author |
สุนันทา วังกาน |
|
dc.contributor.author |
ศิริรัตน์ ชาญไววิทย์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:16:11Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:16:11Z |
|
dc.date.issued |
2557 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2646 |
|
dc.description.abstract |
ได้ทําการสกัดกรดไขมันจากตัวอย่างเนื้อในเมล็ดมะม่วง ด้วยสารละลายผสมของไดคลอโรมีเทน เมทานอลและน้ำในอัตราส่วน 2: 1: 0.2 โดยแช่ตัวอย่าง 2 ชั่วโมง แล้วเมทิลเลชั่นที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส 10 ชั่วโมงและทําการวิเคราะห์ด้วยเครื่องแก็สโครมาโทกราฟ-เฟลมไอออไน
เซชั่นด์เทคเตอร์โดยใช้ฮีเลียมเป็นแก็สพาด้วยอัตราการไหล 0.3 มิลลิลิตรต่อนาทีอุณหภูมิ ณ จุดฉีดสารและดีเทคเตอร์ 240 องศาเซลเซียส ฉีดสารปริมาตร 1 ไมโครลิตร และ Split ratio 100:1 แยกสารด้วยคอลัมน์ DB-225 (ยาว 20 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางภายใน 0.10 มิลลิเมตร เคลือบสารหนา 0.10 ไมโครเมตร) โปรแกรมอุณหภูมิเริ่มต้นที่ 150 องศาเซลเซียส คงที่ 0.5 นาทีเพิ่มด้วยอัตรา 100 องศาเซลเซียสต่อนาทีจนถึง 200 องศาเซลเซียส แล้วเพิ่มด้วยอัตรา 60
องศาเซลเซียสต่อนาทีจนถึง 220 องศาเซลเซียส คงที่ 14 นาที พบกรดไขมัน 9 ชนิดในตัวอย่างเนื้อในเมล็ดมะม่วงทั้ง 6 พันธุ์ กรดไขมันตัวสุดท้าย (C22:6n3) ออกมาที่เวลา 14.33 นาที |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
กรดไขมัน |
th_TH |
dc.subject |
วิธีโครมาโทกราฟี |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช |
th_TH |
dc.title |
การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดและวิเคราะห์กรดไขมันจากเนื้อในเมล็ดมะม่วงด้วยเทคนิค GC-FID ใช้คอลัมน์ DB-225 ความยาว 20 เมตร |
th_TH |
dc.title.alternative |
An appropriate extraction and analysis conditions for the determination of fatty acids from mango seeds kernel by GC-FID using 20 meter DB-225 column |
en |
dc.type |
บทความวารสาร |
th_TH |
dc.issue |
ฉบับพิเศษ ประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์วิจัย. |
|
dc.volume |
19 |
|
dc.year |
2557 |
|
dc.description.abstractalternative |
The fatty acids from mango seeds kernel were extracted with mixed solvents of dichloromethane methanol and water in the ratio of 2: 1: 0.2 by soak sample for 2 hours then methylation at 80 °C for 10 hours and analysis by gas chromatography-flame ionization detector. Helium was used as carrier gas at 0.3 ml/min. Injection and
detector temperatures were 240 ºC. Injection volume was 1 μl and split ratio at 100:1. Samples were separated with DB-225 column (20 m length, 0.10 mm. i.d., 0.1 μm. flim thickness). The program temperature was start at 150 ºC held for 0.5 min., then increase with the rate of 100 ºC /min. to 200 ºC followed by the rate of 60 ºC/min to 220 ºC and held for 14 min. We found 9 fatty acids in 6 varieties of mango seed kernels. The last fatty acid (C22:6n3) came out at 14.33 min. |
en |
dc.journal |
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha Science Journal |
|
dc.page |
365-379. |
|