DSpace Repository

ฤทธิ์ต้านออกซิเดชันของผงเครื่องเทศ (ผงกะหรี่และผงพะโล้) บางชนิด จากตลาดทองถิ่นในจังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author ชัชวิน เพชรเลิศ
dc.contributor.author สุพัตรา รอมลี
dc.contributor.author พรรณารัตน์ เกลื้อนสม
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:16:10Z
dc.date.available 2019-03-25T09:16:10Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2636
dc.description.abstract ผงกะหรี่ยี่ห้อไอเชฟ ปืนไขว้เลิศรส แก้วตาและถังทอง รวมทั้งผงพะโล้ยี่ห้อโลโบ ปืนไขว้ง่วนสูน รสดีและคะนอร์ถูกนํามาตรวจสอบฤทธิ์การกําจัดอนุมูล DPPH ความสามารถในการคีเลทโลหะ และหาปริมาณฟีนอลและฟลาโวนอยด์รวม พบว่าผงกะหรี่ยี่ห้อถังทองยับยั้งอนุมูล DPPH ได้ดีที่สุดถึง 98.94% ส่วนผงพะโล้ยี่ห้อง่วนสูนยับยั้งอนุมูล DPPH ได้ดีที่สุดถึง 99.07% (IC50 ของผงกะหรี่ยี่ห้อ ถังทอง ผงพะโล้ยี่ห้อง่วนสูน เท่ากับ 0.43±0.03 และ 0.51±0.01 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลําดับ) นอกจากนี้ พบว่าความสามารถในการคีเลทโลหะเพิ่มขึ้นตามความเข้มข้นของสารละลายตัวอย่าง โดยผงกะหรี่ยี่ห้อปืนไขว้ และผงพะโล้ ยี่ห้อโลโบมีความสามารถในการคีเลทโลหะมากที่สุดโดยมีค่า IC50 เท่ากับ 0.23±0.02 และ 1.38±0.04 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลําดับ เมื่อทําการหาปริมาณฟีนอลรวมพบว่า ผงกะหรี่ยี่ห้อเลิศรสมีปริมาณสูงที่สุด (689.82±0.004 มิลลิกรัมสมมูลของกรดแกลลิกต่อมิลลิกรัมของตัวอย่าง) และในการหาปริมาณฟลาโวนอยด์รวมพบว่า ผงกะหรี่ยี่ห้อถังทองมีปริมาณมากที่สุดคือ 229.1±0.03 มิลลิกรัมสมมูลของเควอร์เซตินต่อมิลลิกรัมของตัวอย่าง จากการศึกษาครั้งนี้ทําให้ทราบว่าผงเครื่องเทศมีฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระจึงนำ จะถูกนํามาใช้เพื่อการส่งเสริมสุขภาพได้ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject ดีพีพีเอช th_TH
dc.subject ปริมาณฟลาโวนอยด์ th_TH
dc.subject ปริมาณฟีนอล th_TH
dc.subject ผงเครื่องเทศ th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช th_TH
dc.title ฤทธิ์ต้านออกซิเดชันของผงเครื่องเทศ (ผงกะหรี่และผงพะโล้) บางชนิด จากตลาดทองถิ่นในจังหวัดชลบุรี th_TH
dc.title.alternative Antioxidant activity of some commercial spice powders (curry and pa-lo powders) from local markets at Chon Buri province en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue ฉบับพิเศษ การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์วิจัยครั้งที่ 6
dc.volume 19
dc.year 2557
dc.description.abstractalternative Curry powders from i-chef, Waugh, Lerdros, Kaewta, Tangthong and pa-lo powders from Lobo, Waugh, Nguan-soon, Rosdee and Knorrwere investigated the antioxidant capacities using 2, 2-diphenyl-1-picrylhydrazyl (DPPH) scavenging assay; metal chelating activity; total phenolic and total flavonoidcontents. The results demonstrated that curry powder brands tangthong and pa-lo powder brands nguan-soon showed the highest DPPH scavenging activity by 98.94% and 99.07%, respectively (IC50 of tangthong and nguan-soon were 0.43±0.03 and 0.51±0.01 mg/ml, respectively). Moreover, the metal chelating activity of curry and pa-lo powders increased in dose-dependent manner. We found the curry powder (Waugh) and pa-lo powder (Lobo) showed the maximum metal chelating activity (IC50 of Waugh and Lobo were 0.23±0.02 and 1.38±0.04 mg/ml, respectively). High total phenolic content of curry powder (Lerdros) was observed (689.82±0.004 mg gallic acid equivalent/mg sample). Total flavonoid content was greatly found in curry powder (Tangthong) by 229.1±0.03 mg quercetin equivalent/mg sample. This research implied that spice powders from local markets can possess remarkable antioxidant activity and use as the information for consumer in order to promote the better health. en
dc.journal วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha Science Journal
dc.page 97-103.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account