DSpace Repository

การสำรวจสถานภาพและการสืบทอดสื่อการแสดงพื้นบ้านในภาคตะวันออก

Show simple item record

dc.contributor.author สุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:47:22Z
dc.date.available 2019-03-25T08:47:22Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/257
dc.description.abstract การวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานะภาพสื่อการแสดงพื้นบ้านตามองค์ประกอบของการสื่อสาร การสืบทอดสื่อการแสดงพื้นบ้าน รวมถึงปัจจัยในการดำรงอยู่ของสื่อการแสดงพื้นบ้านทั้งปัจจัยภายในและภายนอก โดยใช้เครื่องมือในการเก็บข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์เอกสาร การณ์สัมภาษณ์ การสังเกตการณ์ฝึกซ้อมการแสดง และการจัดเวทีสัมมนา กลุ่มเป้าหมายในการศึกษา ได้แก่ นักวิชาการวัฒนธรรม นักวิชาการที่ศึกษาเกี่ยวกับสื่อการแสดงพื้นบ้าน ศิลปิน และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสื่อการแสดงพื้นบ้านเกี่ยวกับภาคตะวันออก ผลการศึกษาพบว่า 1) สื่อการแสดงพื้นบ้านภาคตะวันออกที่ศึกษาส่วนใหญ่มีสถานะภาพเข้มแข็งเป็นสื่อที่เน้นรับงานในเชิงธุรกิจ รวมทั้งมีสื่อของกลุ่มชาติพันธุ์ เช่น ชาติพันธุ์จีน กัมพูชา และชอง 2) ปัจจัยที่มีผลต่อสถานภาพของสื่อการแสดงพื้นบ้าน ได้แก่การมีเครือข่ายทั้งในและนอกชุมชน การสนับสนุนจากชุมชน การสืบทอดต่อคนรุ่นใหม่ในโรงเรียน ผู้ขับเคลื่อนหลัก (Prime Mover) มีการศึกษาวิจัย และพื้นที่ด้านประเพณี 3) การสืบทอดเพื่อการแสดงพื้นบ้านทุกประเภทจะสืบทอดในรูปแบบ (From) คือ ทักษะการแสดงและการเล่นดนตรี ในขณะที่การสืบทอดในส่วนของความสัมพันธ์กับสื่อการแสดงพื้นบ้านประเภทอื่นยังมีน้อย 4) การสืบทอดสื่อการแสดงพื้นบ้านตามแนวคิดการผลิตซ้ำทางวัฒนธรรม เน้นกระบวนการด้านการแพร่กระจายวัฒนธรรม (Distribution) มากกว่าด้านการผลิตซ้ำและบริโภควัฒนธรรม 5) การสืบทอดการแสดงพื้นบ้าน องค์ประกอบที่มีการสืบทอดอย่างเข้มแข็ง คือ องค์ประกอบด้านศิลปิน ส่วนองค์ประกอบที่มีการสืบทอดอย่างอ่อนแอ คือ การสืบทอดผู้ชม 6) สือการแสดงพื้นบ้านเชิงธุรกิจ สืบทอดโดยการปรับตามรสนิยมของผู้ชม ในขณะที่สื่อการแสดงพื้นบ้านที่ไม่ใช่ธุรกิจ(NON-Business Folk Media) ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเชื้อชาติพันธุ์ สืบทอดโดยยึดหลักสิทธิเจ้าของวัฒนธรรมโดยเน้นบทบาทด้านอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ได้รับเงินสนับสนุนจากงบประมาณเงินรายได้ ประจำปีงบประมาณ 2553 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ศิลปะการแสดง th_TH
dc.subject สื่อการแสดงพื้นบ้าน th_TH
dc.subject สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ th_TH
dc.title การสำรวจสถานภาพและการสืบทอดสื่อการแสดงพื้นบ้านในภาคตะวันออก th_TH
dc.title.alternative The status and inheritance of folk media in the east of Thailand en
dc.type Research
dc.year 2555
dc.description.abstractalternative This study aims to investigate the status of folk media according to the communication components, the inheritance of folk media, and the internal and external factors influencing the existence of folk media. The research methods include documentary research, interviews, observation, and seminar discussion. The study found that, firstly, folk media in the East of Thailand mostly were in good status. The artists mostly performed for business purpose. The folk media of the East included ethnic group such as Chinese, Khmer, or Chong. Secondly, factors influencing the status of folk media incorporated networks inside and outside the communities; supports from communities; inheritance to new generations through schools; prom mover; research; and culture sphere. Thirdly, the inheritance of folk media was through from – the performing and musical skill; whereas the inheritance in tern of the relationship – among artists and, with folk media – was scarce. The inheritance of folk media, fourthly, reflected the concept of cultural reproduction with the emphasis of the cultural distribution, rather than the reproduction and cultural consumption. Moreover, the strongest component in the transmission of folk media was artists; on the contrary, the weakest component was audience. Last but not least, business-led folk media inherited by adjusting themselves to accommodate the audiences’ taste. In contrast, non-business folk media, mainly ethic folk media, inherited by applying the concept of cultural owner’s right with the emphasis of ethnic identity. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account