DSpace Repository

แบบจำลองการอบแห้งชั้นบางของเมล็ดกาแฟสายพันธุ์คาร์ติมอร์

Show simple item record

dc.contributor.author อุษาวดี ตันติวรานุรักษ์
dc.contributor.author บุญคง คำครุฑลาวงษ์
dc.contributor.author มารีนา มะหนิ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:16:00Z
dc.date.available 2019-03-25T09:16:00Z
dc.date.issued 2552
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2500
dc.description.abstract การวิจัยนี้เป็นการศึกษาการอบแห้งของเมล็ดกาแฟสายพันธุ์คาร์ติมอร์ด้วยเครื่องอบแห้งชั้นบาง โดยทำการอบแห้งเมล็ดกาแฟที่มีช่วงความชื้นเริ่มต้นที่ประมาณ 238-248% มาตรฐานแห้ง และควบคุมอุณหภูมิของห้องอบที่อุณหภูมิ 50, 60 และ 70 องศาเซลเซียสที่ความเร็วของอาหาศภายในห้องอบที่ 1 เมตรต่อวินาที พบว่าอิทธิพลอุณหภูมิที่ใช้ในการอบแห้งมีผลต่ออัตราส่วนความชื้น และ อัตราส่วนความชื้นลดลงแบบเอกซ์โปเนนเชียลกับระยะเวลาในการอบแห้ง แบบจำลองทางคณิตศาสตร์สำหรับการอบแฟห้งชั้นบางจะใช้ แบบจำลองของ เลวิส(Lewis), เฮนเดอสันและพาบีส (Henderson and Pabis), ล็อกการิทึมิก (Logarithmic), เพจ (Page),วัง และชายห์ (Wang and Singh) ในการทำนาย โดยพิจารณาจากค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (R2) ค่าการลดลงไคกำลังสอง (X2) และ ค่ารากที่สองของความคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ย (RMSE)พบว่าแบบจำลองของเพจ (Page) จะให้ผลที่ได้ดีที่สุดสำหรับอุณหภูมิ 50, 60 และ 70 องศาเซลเซียส เมื่อใช้สมการของฟิค (Fick) ในการศึกษาการเคลื่อนที่ของน้ำในเมล็ดกาแฟขณะทำการอบแห้ง พบว่าสมบัติทางกายภาพของ เมล็ดกาแฟสายพันธุ์คาร์ติมอร์ ได้แก่ ความชื้นของเมล็ดกาแฟมีค่าเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับ ขนาด ปริมาตร ความหนาแน่นปรากฎ ร้อยละ ช่องว่างของอากาศ และความร้อยจำเพาะและมีความสัมพันธ์กันในแบบสมการพหุนามสัมประสิทธิ์การแพร่อยู่ในช่วง 3.15 x 10-6 ถึง 7.85 x 10-6 th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การอบแห้ง th_TH
dc.subject กาแฟ - - เมล็ด - - การอบแห้ง th_TH
dc.title แบบจำลองการอบแห้งชั้นบางของเมล็ดกาแฟสายพันธุ์คาร์ติมอร์ th_TH
dc.title.alternative A thin layer drying model of Catimor Coffee Cherry en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 2
dc.volume 14
dc.year 2552
dc.description.abstractalternative This research is a study of thin-layer drying model for Catimor coffee cherry. Initial moisture of Catimor coffee cherry was 238-248% dry basis. Considering the drying kinetics, the coffee cherry was thin-layer by inlet drying air temperature of 50, 60 and 70 o C with a constant air velocity of 1.0 m/s. The experimental result indicates that a moisture ratio is effected by inlet drying air temperature. The moisture ratio also exponentially decreases with the increasing of drying time. Thin-layer drying models of Lewis, Henderson and Pabis, Logarithmic, Page, Wang and Singh was used evaluated by considering a coefficient of determination (R2 ), a reduced chi-square (χ2 ) and a root means square error (RMSE). The Page model is found to be a best model for describing the characteristics of coffee cherry for the temperatures of 50, 60 and 70 o C. A diffusion coefficient of drying is described by Fickûs equation according from 3.15 x 10-6 to 7.85 x 10-6 m2 /s. Also,the physical properties of coffee cherry, which as moisture of coffee cherry to depend on size, volume, apparent density, percentage of void and specific heat capacity and relate with a polynomial equation form. en
dc.journal วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal
dc.page 70-77.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account