DSpace Repository

ระยะเวลาพำนักของสารอนุรักษ์ในอ่าวปากพนัง

Show simple item record

dc.contributor.author ชาลี ครองศักดิ์ศรี
dc.contributor.author ปราโมทย์ โศจิศุภร
dc.contributor.author อนุกูล บูรณประทีปรัตน์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:15:59Z
dc.date.available 2019-03-25T09:15:59Z
dc.date.issued 2552
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2490
dc.description.abstract แบบจำลอง RMA2 และ RMA4 ถูกใช้จำลองการไหลเวียนของน้ำและระยะเวลาพำนักเฉลี่ยของสารอนุรักษ์ที่ละลายน้ำโดยการทดลองตัวตามรอยในอ่าวปากพนัง โดยใช้ศึกษาการตอบสนองของระยะเวลาพำนักเฉลี่ยของสารชนิดนี้ต่อการเปลี่ยนแปลง อัตราการไหลของน้ำท่าจากแม่น้ำปากพนังและลม ผลการจำลองถูกเทียบมาตรฐานและทวนสอบ กับข้อมูลความเร็วกระแสน้ำและความเค็มจากการตรวจวัดในอ่าว ผลการทดลองตัวตามรอบแสดงให้เห็นระยะเวลาพำนักเฉลี่ยของสารอนุรักษ์ที่ละลายน้ำถูกควบคุมโดยอัตราการไหลของน้ำท่าเป็นหลักโดยที่ไม่ได้ถูกควบคุมโดยลม ระยะเวลาพำนักเฉลี่ยจากคำนวณมีค่าเท่ากับ 10.3 3.7 และ 2 วันเมื่ออัตราการไหลของน้ำท่าเท่ากับ 5 150 และ 350 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาทีตามลำดับ ผลการวิเคราะห์การถดถอยพบว่าระยะเวลาพำนักเฉลี่ยของสารในอ่าวปากพนังมีความสัมพันธ์แบบลอการิทึมกับอัตราการไหลของน้ำท่าจากแม่น้ำปากพนัง th_TH
dc.language.iso th
dc.subject ชลศาสตร์ th_TH
dc.subject สารอนุรักษ์ th_TH
dc.subject อ่าวปากพนัง th_TH
dc.subject เอสทูรี th_TH
dc.subject แบบจำลองทางชลศาสตร์ th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
dc.title ระยะเวลาพำนักของสารอนุรักษ์ในอ่าวปากพนัง th_TH
dc.title.alternative Residence time of a conservative substance in Pak Panang Bay en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 2
dc.volume 14
dc.year 2552
dc.description.abstractalternative RMA2 and RMA4 models were used to simulate water circulation and average residence time of a dissolved conservative substance in terms of passive tracer experiment in Pak Panang Bay. The response of the average residence time of this substance to freshwater discharge from the Pak Panang River and wind variations was also investigated. The simulation results were calibrated and verified by current and salinity data which were measured in the bay. The results of the tracer experiment represented that the average residence time of the dissolved conservative substance was mainly controlled by river discharge, not wind. Calculated average residence times are 10.3, 3.7 and 2 days when the discharges are 5, 150 and 350 m3/s, respectively. Regression analysis result revealed that the average residence time logarithmically related with freshwater discharge from the Pak Panang River en
dc.journal วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal
dc.page 3-15.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account