DSpace Repository

Adaptations in river fishes facilitate species richness

Show simple item record

dc.contributor.author F. William H. Beamish
dc.contributor.author พัชรา นิธิโรจน์ภักดี
dc.contributor.author รุ่งทิพย์ โพล้งเศรษฐี
dc.contributor.author เพียงใจ ชนินทรภูมิ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:15:58Z
dc.date.available 2019-03-25T09:15:58Z
dc.date.issued 2009
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2469
dc.description.abstract The concept of environmental, feeding and reproductive adaptations refers to phenotypic-or genotypic related charecteristics that enable an organism to better cope with specific habitats including other biota and has wide application in understanding species richness and co-existence. Conditions and may facilitate high species diversity. The present study describes the physico-chemical qualities in a large number of river in central Thailand as well as those characteristics associated with the habitat occurrenced of species within two families, Cyprinidae and Balitoridae and one Order, Siluriformes. Adaptations occur also in feeding patterns by fishes occupying similar habitats allowing for resource sharing and species diversity and counter the theory of competitive exclusion. Small but perhaps important dietary differences amoung species further lessen competition and enhance opportunities for species diversity. Reproduction adaptations in fecundity and oocyte diameter among closely related species within the Familiy Balitoridae are suggestive of further adaptations for stability in overall fish population size. en
dc.language.iso eng th_TH
dc.subject Environmental quality th_TH
dc.subject Fishes - - Adaptation th_TH
dc.subject Fishes - - Reproduction th_TH
dc.subject Species diversity th_TH
dc.title Adaptations in river fishes facilitate species richness en
dc.title.alternative การปรับตัวของปลาในแม่น้ำก่อให้เกิดความสมบูรณ์ของชนิดของปลา en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.volume 14
dc.year 2009
dc.description.abstractalternative แนวความคิดของสิ่งแวดล้อม(The coocept of enviromental)การปรับตัวทางกรกินอาหาร เป็นแนวคิดที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกันกับลักษณะทางปีโนไทป์ หรือ จีโนไทป์ ซึ่งถือเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้สิ่งมีชีวิตต่างๆ สามารถดำรงชีวิตและรับมือกับลักษณะอันจำเพาะของแต่ละแหล่งที่อาศัยได้ดีขึ้น รวมทั้งสิ่งมีชีวิตอื่นๆด้วย ซึ่งจะมีประโยชน์ในวงกว้างสำหรับการทำความเข้าใจเกี่ยวกับความชุกชุมของสิ่งมีชีวิจกับการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต ในสภาวะแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงไปมาอยู่ตลอดเวลาของแหล่งน้ำในประเทศไทย อันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของปลาง ทำให้ปลาต้องปรับตัวเพื่อให้เข้ากับคุณลักษณะทางเคมีกายภาพ อาจก่อให้เกิดความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตมากขึ้นการศึกษาในครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางเคมีกายภาพในแหล่งน้ำต่างๆในภาคกลางของประเทศไทย ที่มีผลต่อปลาสองวงศ์ ซึ่งอาศัยร่วมกันในแหล่งน้ำเดียวกัน คือ วงศ์ปลาตะเพียน(Cyprinidea) และวงศ์ปลาจิ้งจก (Balitoridea) และปลาอันดับ Siluriformes การปรับตัวเกิดขึ้นทั้งในรูปของการกินอาหาร รูปแบบของการกิจอาหารเป็นการปรับตัวอย่างหนึ่งโดยปลาที่อาศัยอยู่บริเวณเดียวกันสามารถอยู่ร่วมกัน ด้วยการแบ่งสรรรทรัพยากรอาหารและมีความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต และค้านกับหลักการเบื้องต้นของการกำจัดสิ่งมีชีวิตจากการแข่งกัน(Theory of competitive exclusion)ความแตกต่างของชนิดอาหารของปลาเพียงเล็กน้อย แต่มีความสำคัญซึ่งเป็นการลดการแข่งขันในและเป็นการเพิ่มโอกาศที่ส่งเสริมให้มี ความหลากหลายของชนิดปลา นอกจากนี้การปรับตัวทางด้านการสืบพันธุ์ทั้งด้านความดกไข่และขนาดของไข่ของวงศ์ปลาจิ้งจก(Balitoridae)ซึ่งจะมีลักษณะใกล้เคียงกันเป็นสิ่งสำคัญที่นำมาซึ่งความคงอยู่ของขนาดประชากรปลาทั้งหมด en
dc.journal วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal
dc.page 32-55.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account