dc.contributor.author |
สุบัณฑิต นิ่มรัตน์ |
|
dc.contributor.author |
รัตติชล ศิริโรจน์มหาวงษ์ |
|
dc.contributor.author |
วีรพงศ์ วุฒิพันธ์ุชัย |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:15:57Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:15:57Z |
|
dc.date.issued |
2553 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2455 |
|
dc.description.abstract |
การศึกษาในครั้งนี้ได้ทำการศึกษาการกำจัดสีอะมิโดแบล็คโดยการดูดซับด้วยถ่านกัมมันต์เพียงอย่างเดียวและการดูดซับด้วยถ่านกัมมันต์ต่อเนื่องด้วยการย่อยสลายด้วยตะกอนเร่งภายใต้สภาวะที่มีออกซิเจน (แบบผสมผสาน) ผลการทดลองพบว่าถ่านกัมมันต์ มีประสิทธิภาพในการดูดซับสีอะมิโดแบล็คได้ดีแต่จะขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของสีเริ่มต้น โดยถ่านกัมมันต์มีประสิทธิภาพในการดูดซับสี
อะมิโดแบล็คที่มีความเข้มข้น 1 มิลลิโมลาร์ได้ดีที่สุด รองลงมา คือ 2 มิลลิโมลาร์ แต่ยังคงพบสารสีที่คงเหลือหลังจากการดูดซับทั้ง
2 ความเข้มข้น จากนั้นเมื่อนำสารที่ผ่านการดูดซับด้วยถ่านกัมมันต์มากำจัดต่อเนื่องด้วยตะกอนเร่งภายใต้สภาวะที่มีออกซิเจนเป็น
ระยะเวลา 7 วัน พบว่าวิธีการกำจัดแบบผสมผสานสามารถกำจัดสีอะมิโดแบล็คที่ความเข้มข้น 1 และ 2 มิลลิโมลาร์ได้อย่างสมบูรณ์
โดยไม่มีสารสีหลงเหลืออยู่ ดังนั้นจากการศึกษาสรุปได้ว่าการกำจัดสีอะมิโดแบล็คด้วยวิธีผสมผสานน่าจะเป็นวิธีที่นำมาใช้ในการกำจัดน้ำเสียที่มีสีย้อมปนเปื้อนโดยเฉพาะมีประสิทธิภาพดีเมื่อสีมีความเข้มข้น 1 และ 2 มิลลิโมลาร์ เนื่องจากกำจัดสีได้สมบูรณ์จากการตรวจวัดของความยาวคลื่นระหว่าง 350-700 นาโนเมตร อย่างรวดเร็วภายใน 1 วันของการทดลองเท่านั้น |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
คาร์บอนกัมมันต์ - - การดูดซับ |
th_TH |
dc.subject |
คาร์บอนกัมมันต์ |
th_TH |
dc.subject |
น้ำเสีย - - การบำบัด - - การดูดซับ |
th_TH |
dc.title |
การพัฒนาวิธีการบำบัดสีอะมิโดแบล็คด้วยการดูดซับ/ ตะกอนเร่ง |
th_TH |
dc.title.alternative |
Development of amido black treatment using adsorption/adtivated sludge |
en |
dc.type |
บทความวารสาร |
th_TH |
dc.issue |
1 |
|
dc.volume |
15 |
|
dc.year |
2553 |
|
dc.description.abstractalternative |
Removal of amido black using adsorption only and adsorption with activated carbon sequenced by deg- radation with aerobic activated sludge was studied. Results concluded that activated carbon showed ability for amido black removal; however, its efficiency was depended on the initial concentration of dye. Activated carbon
showed the highest efficacy for 1 mM amido black, in the less extent was 2 mM. However, the filtrates from 1
and 2 mM amido black treated with activated carbon adsorption showed some dye residues. In the next step,
the filtrate from adsorption treatment was mixed with aerobic activated sludge for 7 days. Results showed that
activated sludge was able to eliminate the dye residues in the amido black at 1 and 2 mM samples, respectively.
Thus, this study concluded that the removal of amido black using adsorption with activated carbon sequenced
by degradation with aerobic activated sludge showed the appropriate treatment in 1 and 2 mM amido black solution because amido black was adsorbed and then degraded completely within (in a range of 350 – 700
nm) 1 day of the experiment. |
en |
dc.journal |
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal |
|
dc.page |
88-97. |
|