DSpace Repository

แอคติโนมัยชีทจากป่าชายเลนที่สร้างสารไบโอแอคทีฟยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์

Show simple item record

dc.contributor.author รัตนาภรณ์ ศรีวิบูลย์ th
dc.contributor.author จันทรวรรณ แสงแข th
dc.contributor.author สมถวิล จริตควร th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสหเวชศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:47:20Z
dc.date.available 2019-03-25T08:47:20Z
dc.date.issued 2551
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/237
dc.description.abstract เอ็นไซม์ อะมิโนแอซิดราซิเมส เป็นเอ็นไซม์ที่มีบทบาทสำคัญทางอุตสาหกรรม การผลิตกรดอมิโน เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมผลิตยา และฮอร์โมน โดยจะช่วยเปลี่ยนไอโซเมอร์ ของกรดอมิโนให้อยู่ในรูป ดี-ฟอร์ม หรือ แอลฟอร์มที่ต้องการ ในการวิจัยนี้ได้นำตัวอย่างดินที่เก็บมาจากชายฝั่งของจังหวัดชลบุรี ระยอง จันทบุรี และจังหวัดตราด จำนวน 45 ตัวอย่างมาแยกเชื้อ แอคติก โนมัยซีท และทำให้บริสุทธิ โดยพบเชื้อแอคติโนมัยซีท จำนวน 265 ไอโซเลต และในจำนวนนี้ พบแอคติโนมัยซีท ที่อุณภูมิสูได้จำนวนน 163 ไอโซเลต และพบสายพันธุ์ที่สามารถสร้างเอ็นไซม์ N-acylamino acid racemase ได้ในปริมาณต่างๆกัน จำนวน 17 ไอโซเลต เมื่อเลี้งในอาาหารเลี้ยงเชื้อ กลูโคส 0.25% เปปโตน 1.5.% แบคโต เปปโตน0.5% โซเดี่ยมคลอไรด์ 0.5% และไดไฮโดรเจน ฟอสเฟต 0.25% และ N-acepyl-D-methionine 0.5% โดยวัดจากปริมาณของ L-methionine ที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาเมื่อเติมเอนไซม์ L-aminoacylase พบว่า strain C 12-22 สามารถสร้างเอ็นไซม์ได้ในปริมาณสูงสุดและ strain C15-14 สรางเอนไซม์ได้ในปริมาณสูงลองลงมา โดยเปรียบเทียบจากพื้นที่ใต้พีก เมื่อนำเอาผลิตผลจากปฏิกิริยาไปตรวจวัดปริมาณของL-Methionine ที่สร้างขึ้นด้วย HPLC ผลจากการศึกษาลักษณะรูปร่างทางสัณฐานวิทยา และทางเคมีพบว่า Strain C12-22 และ Strain C15-14 สร้างสปอร์ต่อกันเป็นสายบิดเป็นเกรียวและมี L-DAP และ ไกลซีน เป็นองค์ประกอบของ เปปติโดไกลแคน ที่ผนังเซลล์ และไม่พบน้ำตาลจาการย่อยสลายเซลล์ ซึ้งเป็นคุณสมบัตรของแอคติโนมัยซีทในจีนัส Streptomyces และผลจากการวิเคราะห์ลำดับเบสของ 16S DNA ยีนก็ให้ผลยืนยันเช่นเดียวกันทั้งสองstrains สามารถเจริญไดดีที่อุณหภูมิระหว่าง 25-40 0C และสามารถทนทานต่ออุณภูมิสูงได้ถึง 450C Abstract N-acylamino acid racemase takes an important role in industrial amino acid preparation by the process of racemization for drugs and hormones including suppementary nutritions. In this study, 45 coastal sample soils from Chonburi, Rayong, Chantaburi and Trad Provinces were collected and 265 isolates of actinomycetes were found and purified. Out of these, 163 isolates were found to be thermotolerant actinomycetes and 17 isolates were N-acylamino acid racemase producers when cultured in the medium comprising of 0.25% glucose, 1.5% peptone, 0.5% yeast extract, 0.5% NaCl,0.25% KH2PO4 and 0.5% N-acetyl-D-methionine. The enzyme was detected by L-methionine produced in the reaction when L-aminoacylase was added. It was found that strain C12-22 and strain C15-14 were the most and the second high N-acylamino acid racemase producers, respectively, by comparing peak ares when analyzed with HPLC. The results from morphological and chemical studies appeared that strain C12-22 and strain C15-14 produced spores in spiral chains and had L-DAP and glycine in cell wall peptidoglycans with no characteristic sugar in whole-cell hydrolysates which were the characteristics of actinomycetes in genus Streptomyces. The results from 16S DNA gene sequencing analysis confirmed the genus. Both strains grew well between 25-40 0 C and could tolerate higher temperature up to 45 0 .C th_TH
dc.description.sponsorship โครงการวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2551 ภายใต้แผนการวิจัย พืชสมุนไรและภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย. en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject จุลินทรีย์ - - วิจัย th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.subject แอคติโนมัยซิตาเลส - - วิจัย th_TH
dc.subject แอคติโนมัยซีท th_TH
dc.title แอคติโนมัยชีทจากป่าชายเลนที่สร้างสารไบโอแอคทีฟยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ th_TH
dc.title.alternative Actinomycetes from mangrove capably produce antimicrobial bioactive compounds en
dc.type Research
dc.year 2551


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account