dc.contributor.author |
กุสลวัฒน์ คงประดิษฐ์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:14:41Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:14:41Z |
|
dc.date.issued |
2551 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2274 |
|
dc.description.abstract |
บทความนี้ศึกษาเกี่ยวกับขั้นตอนต่างๆ ในการเสนอรูปแบบบริการอย่างใหม่ที่ห้องสมุดวิทยาศาสตร์-วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอริโซน่า เนื่องจากการงบประมาณที่ลดลงและการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมผู้ใช้ห้องสมุด ทำให้ต้องพิจารณาใหม่เกี่ยวกับบริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้า (หรือเรียกอีกอย่างว่า บริการอ้างอิง) เพื่อประสิทธิภาพของผู้ใช้จ่าย และการให้บริการที่มีคุณภาพในเวลาเดียวกันด้วย รูปแบบบริการใหม่เป็นรูปแบบที่สร้างจากจุดบริการแต่ละแห่งนำมารวมไว้ที่ศูนย์กลางที่เดียว เพื่อการจัดสรรบุคลากรของภาคีห้องสมุด (Library Associates) โดยเริ่มจากการวิเคราะห์งบประมาณและหาค่าใช้จ่่ายต่อชั่วโมงของรูปแบบการจัดวางบุคคลในปัจจุบัน และจดบันทึกคำถาม ณ จุดบริการต่างๆ เพื่อเข้าใจคำถามที่ถามในสถานที่ต่างๆ รวมถึงกระบวนการอ้างอิงที่คำถามที่ซับซ้อนได้ส่งต่อไปยังบรรณารักษ์ที่เชี่ยวชาญสาชาวิชาแต่ละคนด้วย ในการนี้ได้ใช้แบบสำรวจ Action Gap Surveys วัดระดับความพึงพอใจของผู้ใช้ก่อนและหลัง สร้างแบบจำลอง นอกจากนี้ บทความนี้ยังให้ความสำคัญกับการฝึกอบรมและการศึกษาต่อเนื่องที่จำเป็นสำหรับภาคีห้องสมุดเพื่อให้ได้รับบริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้าที่มีคุณภาพ |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
บริการตอบคำถาม |
th_TH |
dc.subject |
บริการสารสนเทศ |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ |
th_TH |
dc.subject |
ห้องสมุดและบริการของห้องสมุด |
th_TH |
dc.title |
วิวัฒนาการบริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้า : รูปแบบบริการใหม่สำหรับห้องสมุดวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ |
th_TH |
dc.type |
บทความวารสาร |
th_TH |
dc.issue |
25-26 |
|
dc.volume |
16 |
|
dc.year |
2551 |
|
dc.journal |
วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. |
|
dc.page |
231-251. |
|