DSpace Repository

การพัฒนาวิธีดีพีพีเอชบนอุปกรณ์แบบกระดาษเพื่อการวิเคราะห์แบบรูปผลรวดเร็ว ของความสามารถการต้านอนุมูลอิสระในอาหารและผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ

Show simple item record

dc.contributor.author ยุภาพร สมีน้อย
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:10:04Z
dc.date.available 2019-03-25T09:10:04Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2006
dc.description.abstract งานวิจัยนี้พัฒนาวิธีวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระโดยใช้อุปกรณ์ตรวจวัดแบบกระดาษทํางานร่วมกับ วิธี DPPH หลักการวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระอาศัยการตรวจวัดสีของ DPPH ที่ถูกฟอกจางภายหลังจาก ทําปฏิกิริยากับสารต้านอนุมูลอิสระ ปริมาณความเข้มสีของ DPPH ที่ลดลงแปรผันตรงกับฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ของตัวอย่าง วิเคราะห์สีด้วยโปรแกรมประมวลผลภาพ ทําการศึกษาสภาวะที่เหมาะสม ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ความเข้มข้นของ DPPH เริ่มต้น และเวลาในการเกิดปฏิกิริยาบนอุปกรณ์ตรวจวัดโดยการวิเคราะห์ และนําสภาวะที่เหมาะสมไปวิเคราะห์หาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารต้านอนุมูลอิสระมาตรฐาน 6 ชนิด (กรดแกลลิค, โทล็อกซ์, กรดแอสคอร์บิค, กรดคาเฟอิค, กรดวานิลลิคและ เควอซิทิน) ทดสอบความแม่นของ อุปกรณ์ที่พัฒนาขึ้นโดยวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของตัวอย่างชา 7 ชนิดเทียบกับวิธี DPPH ดั้งเดิม (spectrophotometric assay) จากการทดลองพบว่าฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระในรูปของ gallic acid equivalent (GAE, µmol GA/g tea) ที่วิเคราะห์ได้จากทั้งสองวิธีมีค่าแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสําคัญที่ระดับ ความเชื่อมั่น 95% (two tailed P = 0.8114) แสดงให้เห็นว่าอุปกรณ์ที่พัฒนาขึ้นนี้สามารถใช้หาฤทธิ์ต้าน อนุมูลอิสระได้จริง ใช้ปริมาณสารตัวอย่างและรีเอเจนต้นอย วิเคราะห์สารได้ลายตัวอย่างในคราวเดียวกัน มีค่าใช้จ่ายในการวิเคราะห์ต่ำ และอุปกรณ์มีน้ําหนักเบาสามารถนําไปตรวจวัดภาคสนามได้ th_TH
dc.description.sponsorship โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณ แผ่นดิน) ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 มหาวิทยาลัยบูรพา en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject วิธีดีพีพีเอช th_TH
dc.subject สารต้านอนุมูลอิสระ th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช th_TH
dc.title การพัฒนาวิธีดีพีพีเอชบนอุปกรณ์แบบกระดาษเพื่อการวิเคราะห์แบบรูปผลรวดเร็ว ของความสามารถการต้านอนุมูลอิสระในอาหารและผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ th_TH
dc.title.alternative Development of paper-based DPPH assay for high throughput analysis of antioxidant activity in foods and natural products en
dc.type Research
dc.author.email yupaporn@buu.ac.th
dc.year 2560
dc.description.abstractalternative This research developed a method to analyze antioxidant activity using a paper-based analytical device (µPAD) with the 2,2-diphenyl-1-picrylhydrazyl (DPPH) assay. Analysis of antioxidant activity was based on measuring the decreasing of DPPH color after reacted with antioxidant compounds. Changes of color intensity are directly proportional to antioxidant activity and quantified using imaging software. Optimization of the assay for the DPPH analysis on a paper-based device was carried out including starting concentration of DPPH and reaction time. The optimal condition was applied for the analysis of 6 different model standard antioxidants including Gallic acid, Trolox, Ascorbic acid and Caffeic acid, Vanillic acid and Quercetin. The developed DPPH µPAD assay was validated against traditional DPPH spectrophotometric assay for the analysis of 7 tea samples. The results showed that antioxidant activities expressed as gallic acid equivalent (GAE, µmol GA/g tea) for all samples obtained from the two methods are not significant difference at 95% confidence level (two tailed P = 0.8114). This result indicated that the developed DPPH-µPAD assay was effectively used to analyze antioxidant activity of real tea samples. Furthermore, the developed µPAD required low-level sample and reagent volume with inexpensive analysis cost and is suitable for field-testing en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account