dc.contributor.author |
สยาม ยิ้มศิริ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T08:45:56Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T08:45:56Z |
|
dc.date.issued |
2553 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/193 |
|
dc.description.abstract |
โครงสร้างของพื้นทางส่วนใหญ่มักใช้หินคลุกซึ่งเป็นวัสดุหินโม่มวลรวมตามธรรมชาติแต่เนื่องจากปริมาณของหินอยู่อย่างจำกัดจึงมีการนำตะกรันเหล็กซึ่งเป็นวัสดุที่เป็นผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมการผลิตเหล็กหรือถลุงเหล็กมาใช้ให้เกิดประโยชน์ การศึกษานี้จะเปรียบเทียบคุณสมบัติของวัสดุพื้นทางระหว่างหินคลุกและตะกรันเหล็กโม่ทั้งในกรณีไม่ผสมและผสมซีเมนต์โดยทำการผสมซีเมนต์ที่ปริมาณ 1%, 2 %, 3 %, 4 %, 5 % ก่อนทำการบดอัดแบบสูงกำว่ามาตรฐานและทำการทดสอบหาคุณสมบัติด้านกำลังโดยการทดสอบการรับรองแรงอัดและการทดสอบซี บี อาร์ ที่เวลาบ่ม 7 และ 28 วัน
Pavement is normally constructed by use of natural stone which is decreasing in quantity. There for, this research the use of steel slag, which is a by – product from steel furnace industries/ to replace crushed stone as pavement materials. The characteristics of crushed slag are compared with crushed stone for the cases of with and without modification by cement. Cement quantities of 1%, 2%, 3%, 4%, 5% are added to the mixtures before performing modified compaction test. The resulting strength characteristics at 7 and 28 days are observed from unconfined compression and CBR tests. |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
โครงการวิจัยงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ตะกรัน |
th_TH |
dc.subject |
ถนน - - การออกแบบและการสร้าง |
th_TH |
dc.subject |
วัสดุมวลรวม |
th_TH |
dc.subject |
วิศวกรรมโยธา |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย |
th_TH |
dc.title |
การใช้ตะกรันเหล็กโม่แทนหินธรรมชาติเพื่อเป็นวัสดุพื้นทาง |
th_TH |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.year |
2553 |
|