DSpace Repository

การตอบสนองทางพฤติกรรมและความทนทานต่อโลหะหนักของหอยโข่ง (Pila spp.) ที่เป็นชนิดพันธุ์พื้นเมืองและหอยเชอรี่ (Pomacea canaliculata) ที่เป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นเพื่อใช้เป็นแนวทางการควบคุมสัตว์น้ำต่างถิ่นที่รุกรานในประเทศไทย

Show simple item record

dc.contributor.author จันทิมา ปิยะพงษ์ th
dc.contributor.author ศศิธร มั่นเจริญ th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:09:52Z
dc.date.available 2019-03-25T09:09:52Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1847
dc.description.abstract ผลกระทบของชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานที่มีผลต่อชนิดพันธุ์พื้นเมือง ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการตอบสนองทางพฤติกรรม หอยเชอรี่ (Pomacea canaliculata) เป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานส้าคัญชนิดหนึ่งของโลก การรุกรานของหอยเชอรี่ส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในระบบนิเวศ โดยเฉพาะหอยโข่งพันธุ์พื้นเมือง (Pila spp.) ซึ่งหอยเชอรี่อาจแสดงพฤติกรรมต่างๆ เช่น พฤติกรรมการกิน พฤติกรรมการหนีผู้ล่า และพฤติกรรมความกล้าเสี่ยง จึงท้าให้ประสบความส้าเร็จในการรุกราน ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงสนใจศึกษา สถานภาพการกระจายและปฏิสัมพันธ์ทางพฤติกรรมของหอยโข่งพันธุ์พื้นเมืองและหอยเชอรี่ โดยแบ่งการศึกษาเป็น 2 ส่วน คือส่วนที่ 1 การศึกษาภาคสนาม เป็นการศึกษาข้อมูลพื้นฐานของพื้นที่ที่ท้าการเก็บตัวอย่างหอย เพื่อประเมินสถานภาพการกระจาย พบหอยโข่งพันธุ์พื้นเมืองชนิด Pila pesmei มากที่สุดที่บริเวณอ่าวปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช จ้านวน 23 ตัว และพบหอยเชอรี่ชนิด Pomacea canaliculata มากที่สุดที่บริเวณบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ จ้านวน 134 ตัว และในส่วนที่ 2 การศึกษาในห้องปฏิบัติการ เป็นการศึกษาปฏิสัมพันธ์ทางพฤติกรรมระหว่างหอยโข่งพันธุ์พื้นเมืองและหอยเชอรี่พบว่า หอยเชอรี่มีอัตราการกินอาหารและระยะทางในการหนีผู้ล่ามากกว่าหอยโข่งพันธุ์พื้นเมืองอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ แต่หอยทั้ง 2 ชนิดแสดงพฤติกรรมความกล้าเสี่ยงไม่แตกต่างกัน th_TH
dc.description.sponsorship โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การควบคุมสัตว์น้ำ th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.subject หอยเชอรี่ th_TH
dc.subject หอยโข่ง th_TH
dc.subject โลหะหนัก th_TH
dc.title การตอบสนองทางพฤติกรรมและความทนทานต่อโลหะหนักของหอยโข่ง (Pila spp.) ที่เป็นชนิดพันธุ์พื้นเมืองและหอยเชอรี่ (Pomacea canaliculata) ที่เป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นเพื่อใช้เป็นแนวทางการควบคุมสัตว์น้ำต่างถิ่นที่รุกรานในประเทศไทย th_TH
dc.title.alternative Behavioral responses and heavy metal tolerance of Pila spp. (native species) and Pomacea canaliculata (invasive alien species): approaches for controlling invasive aquatic animals in Thailand en
dc.type งานวิจัย
dc.year 2558
dc.description.abstractalternative Effect of invasive alien species mostly involves behavioral responses. The apple snail (Pomacea canaliculata) is one of the world worst invasive alien species. Its invasion might affect on living organisms in ecosystems, especially native apple snails (Pila spp.). It is possible that the apple snails might show better aggressive behavior, predator avoidance and higher boldness than the native apple snails. Therefore, this invasive species becomes successful and invades the native species. Purposes of this study are to investigate these snails distribution and behavioral interactions. There are 2 parts of this study: field study and laboratory experiments. In the field, we collected the basic data of the snails’ habitats in order that we could evaluate their status and distribution. The native apple snails (Pila pesmei) were most found (23 individuals) in Pak Phanang, Nakhon Si Thammarat Province while the invasive apple snails were most found (134 individuals) in Bueng Boraphet, Nakhon Sawan Province. In the laboratory for the experiments in behavioral interaction between the invasive apple snails and the native apple snails, it was found that the invasive species had higher feeding rates and longer distance for predator avoidance than the native species with the statistical difference. However, there was no such difference in the boldness experiment. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account