DSpace Repository

การผลิตเอนไซม์ตรึงรูปที่มีศักยภาพในการสลายสารปนเปื้อน กลุ่มเอไมด์และไนไตรล

Show simple item record

dc.contributor.author จิตติมา เจริญพานิช
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:09:51Z
dc.date.available 2019-03-25T09:09:51Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1832
dc.description.abstract ความต้องการใช้อะคริโลไนไตรลที่จัดอยู่ในกลุ่มของสารเคมีที่มีแนวโน้มสูงที่จะเป็นสารก่อมะเร็งในคนในปริมาณมากในห้องปฏิบัติการและอุตสาหกรรมนําไปสู่การปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม ซึ่งการเปลี่ยนรูปโดยใช้จุลินทรีย์ดูเหมือนว่าจะเป็นการกําจัดสารอะคริโลไนไตรลวิธีเดียวที่มีประสิทธิภาพสูงและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แต่ยังคงต้องการจุลินทรีย์ที่มีศักยภาพสูงในการกําจัด โครงการวิจัยนี้รายงานถึงศักยภาพของแบคทีเรียสลายอะคริลาไมด์ Enterobacter aerogenes ในการย่อยสลายทางชีวภาพสารอะคริโลไนไตรล ผลการทดสอบพบว่าแบคทีเรีย สามารถเจริญได้ดีในสภาวะที่มีอะคริโลไนไตรลความเข้มข้นร้อยละ 0.2 (ปริมาตรต่อปริมาตร) โดยสามารถตรวจพบการสลายอะคริโลไนไตรลได้หลังการเลี้ยงเชื้อเจริญเป็นเวลา 30 นาที และเกิดการสลายในปริมาณสูงที่ชั่วโมงที่ 12 ของการเลี้ยง ซึ่งพบว่าอะคริโลไนไตรลจะถูกสลายเป็นอะคริลาไมดก)อนที่จะถูกเปลี่ยนเป็นกรดอะคริลิกและ แอมโมเนียม ผลการทดสอบที่ได้อาจเนื่องมาจาก E. aerogenes มีระบบเอนไซมไนไตรลไฮดราเทสและเอไมเดสที่ เกี่ยวข้องกับการสลายทางชีวภาพสารอะคริลาไนไตรลนั่นเอง th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัย ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 จากงบประมาณเงินแผ่นดิน en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การสลายทางชีวภาพ th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช th_TH
dc.subject อะคริลาไมด์ th_TH
dc.subject อะคริโลไนไตรล th_TH
dc.title การผลิตเอนไซม์ตรึงรูปที่มีศักยภาพในการสลายสารปนเปื้อน กลุ่มเอไมด์และไนไตรล th_TH
dc.title.alternative Construction of an immobilized enzyme with the potential for amide/nitrile degradation en
dc.type Research
dc.year 2558
dc.description.abstractalternative A huge demand for acrylonitrile as a ubiquitous chemical for laboratory and industry led to its environmental presence; however the International Agency for Research on Cancer has classified this compound as a probable human carcinogen. Microbial transformation seems to be the only efficient and environmentally friendly process to decompose this monomer but requires high potent microorganisms. This study reported the potential of an acrylamidedegrading Enterobacter aerogenes for acrylonitrile biodegradation. The strain grew well in the presence of acrylonitrile at the concentration of 0.2% (v/v). Degradation of acrylonitrile started after 30 minutes of cultivation and reached maximum at 12 hours. Acrylonitrile was firstly degraded to acrylamide and then the obtained acrylamide was changed to acrylic acid and ammonium. These suggest that E. aerogenes might contain nitrile hydratase-amidase system used for acrylonitrile biodegradation en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account