DSpace Repository

การเปลี่ยนแปลงสรีระเคมีของกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei) ที่ขนาดต่าง ๆ

Show simple item record

dc.contributor.author บุญรัตน์ ประทุมชาติ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:09:51Z
dc.date.available 2019-03-25T09:09:51Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1831
dc.description.abstract การทดลองนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการการเลี้ยงกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei) ความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงทางสรีระเคมีของกุ้งขาวตามขนาดเป็นสิ่งที่จำเป็นมากในการทดลองนี้จึงได้นำกุ้งขาวจากบ่อเลี้ยง 5 ขนาด (6, 12,18, 24 และ 30 กรัม) มาทำการปรับสภาพในน้ำความเค็ม 25 psu ในถังไฟเบอร์กลาสขนาด 500 ลิตร ที่ความหนาแน่น 50 ตัวต่อตารางเมตร ให้อาหารสำเร็จรูปกุ้งขาวระดับโปรตีนอย่างน้อย 35% ปริมาณ 5% ของน้ำหนักตัว แบ่งให้วันละ 4 ครั้ง ทำการทดลอง 3 ซ้ำ เมื่อปรับสภาพกุ้งครบ 2 สัปดาห์ จึงคัดกุ้งระยะลอกคราบ D0 ของกุ้งขาวทั้ง 5 ขนาดในแต่ละซ้า มาเก็บเลือด ตับ และตับอ่อน และเปลือกเพื่อมาวัดปริมาณของแร่ธาตุ 9 ชนิด ได้แก่ Na, K, Ca, Mg, Mn, Cu, Cl, P และ S ด้วยเครื่อง X-ray fluorescent spectrophotometer ED2000 จากการทดลองพบว่าความเข้มข้นของ Na, K, Mg, Ca, Cu และ P ในพลาสมา ตับและตับอ่อน S ในพลาสมา และ P ในเปลือกของกุ้งขาวขนาดเล็ก (6 กรัม) มีความเข้มข้นสูงที่สุด (p<0.05) ความเข้มข้นของชนิดแร่ธาตุที่นอกเหนือจากข้างต้นทั้ง 3 อวัยวะมีค่าไม่แตกต่างกัน (p>0.05) ชี้ชัดได้ว่ากุ้งขนาดเล็กมีความพร้อมสูงกว่ากุ้งขนาดใหญ่กว่า ทั้งด้านพลังงาน การควบคุมสมดุลเกลือแร่ กระบวนการลอกคราบ การสร้างเปลือกเพื่อสนับสนุนอัตราการเจริญเติบโตที่สูงกว่ากุ้งขนาดใหญ่ th_TH
dc.description.sponsorship โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject กุ้งขาว th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title การเปลี่ยนแปลงสรีระเคมีของกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei) ที่ขนาดต่าง ๆ th_TH
dc.title.alternative Physicochemical changes of white shrimp (Litopenaeus vannamei) at different sizes en
dc.type Research
dc.author.email boonyara@buu.ac.th
dc.year 2558
dc.description.abstractalternative This experiment was aimed to increased efficiency for raising Litopenaeus vannamei shrimp. Physio-chemical change of shrimp in various sizes was very necessary to understand. Pond-reared white shrimp (Litopenaeus vannamei) in 5 sizes (6, 12, 18, 24 และ 30 g in total weight) were held at 50 shrimps/m2 in 250-L fiberglass tank under 25 psu. They were fed four times daily with at least 35% protein pellet feed by ration of 5% of shrimp body weight. Three replications were operated. After an acclimation the experimental shrimp for two weeks, hemolymph, hepatopancreas and cuticle of experimental shrimp at D0 stage among different sizes were collected and further analyzed for concentrations of Na, K, Ca, Mg, Mn, Cu, Cl, P and S using X-ray fluorescent spectrophotometer ED2000. The experiment found that concentrations of Na, K, Mg, Ca, Cu and P in plasma and hepatopancreas, S in plasma, including P in cuticle of the small shrimp (6 g) were the significant highest concentration (p<0.05). Concentrations of minerals besides above from the three organs were not different (p>0.05). This indicates that the completeness of the smaller shrimp is superior to that of the larger one including energy, ionic balance, molting, cuticle formation for supporting their higher growth rate. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account