DSpace Repository

โครงการการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ของแคลเซี่ยมออกไซด์จากวัสดุธรรมชาติ

Show simple item record

dc.contributor.author สร้อยพัทธา สร้อยสุวรรณ
dc.contributor.author วิลาสินี วิสัยจร
dc.contributor.author จิราพร พรหมจรรย์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:08:42Z
dc.date.available 2019-03-25T09:08:42Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1794
dc.description.abstract งานศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาคุณสมบัติของแคลเซียมออกไซด์จากวัสดุทางทะเล 3 ชนิด คือ กระดองปลาหมึก เปลือกหอยแมลงภู่และเปลือกหอยนางรม ภายใต้สภาวะออกซิเจนหรือไนโตรเจน โดยศึกษาการสลายตัวด้วยเครื่อง TGA (Thermal gravimetric analysis) พบว่า สภาวะบรรยากาศไม่มีผลต่ออัตราศึกษาการสลายตัวสูงสุดของกระดองปลาหมึกและเปลือกหอยแมลงภู่ แต่ในขณะที่เปลือกหอยนางรมมีอัตตราการย่อยสลายสูงสุดภายใต้บรรยากาศของไนโตรเจน ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากความแตกต่างกันทางด้านโครงสร้างผลึก คือ อะราโกไนต์และแคลไซต์ แคลเซียมออกไซด์ถูกเตรียมจากวัสดุทางทะเลที่กระบวนการแคลซิเนชั่นภายใต้บรรยากาศของไนโตรเจน ที่อัตราการเพิ่มอุณหภูมิ 5 C/min โดยการเพิ่มอุณหภูมิ 850 C เป็นเวลา 2 ชั่วโมง หลังจากนั้นนาแคลซัยมออกไซด์ แคลเซียมออกไซด์ถูกเตรียมจากวัสดุทางทะเลที่กระบวนการแคลซิเนชั่นภายใต้บรรยากาศของออกซิเจนหรือไนโตรเจนด้วยวิธีการ BET(X-Ray Diffraction)วัดไอโซเทอมการดูดซับและคายก๊าซไนโตรเจนด้วยวิธีการ SEM-EDXs (Scanning Electron Microscopy-Energy Dispersive spectrometer) แคลเซียมภายใต้ที่เตรียมการใต้สภาวะบรรยากาศของออกซิเจน จะตรวจพบโครงสร้างของแคลเซียมไฮดรอไซด์ปนอยู่กับโครงสร้างของแคลเซียมออกไซด์ วัสดุทางทะเลทั้ง 3 ชนิดให้แคลเซียมออกไซด์และไอโซเทอมในการดูดซับและการคายซับชนิด IUPAC III สำหรับวัสดุทางทะเลทุกชนิด ในขณะที่กระบวนการแคลซิเนชั่นภายใต้บรรยากาศของไนโตรเจน จะตรวจพบโครงสร้างของแคลเซียมไฮดรอกไซด์อยู่กับโครงสร้างของแคลเซียมออกไซด์ จะขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้ที่นำไปใช้ประโยชน์ หากต้องการผลิตภัณฑ์ที่เป็นแคลเซียมออกไซด์วัสดุทางทะเลทั้ง 3 ชนิด ให้แคลเซียมออกไซด์ที่มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกัน การนาแคลเซียมออกไซด์ไปใช้ในประโยชน์ การนาแคลเซียมออกไซด์ไปใช้ในประโยชน์ จะขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้ที่นำไปใช้ประโยชน์ หากต้องการผลิตภัณฑ์ที่เป็นแคลเซียมออกไซด์สมบูรณ์ ควรเลือกบรรยากาศออกซิเจน แต่ถ้าหากผลิตภัณฑ์ที่เป็นแคลเซียมออกไซด์สมบูรณ์ ควรเลือกบรรยากาศออกซิเจน แต่ถ้าต้องการผลิตภัณฑ์ที่เป็นแคลเซียมออกไซด์รวมกับแคลเซียมไฮดรอกไซด์ ควรเลือกบรรยากาศของไนโตรเจน th_TH
dc.description.sponsorship สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject วัสดุทางทะเล th_TH
dc.subject สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย th_TH
dc.subject แคลเซี่ยมคาร์บอเนต th_TH
dc.subject แคลเซี่ยมออกไซด์ th_TH
dc.title โครงการการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ของแคลเซี่ยมออกไซด์จากวัสดุธรรมชาติ th_TH
dc.type Research th_TH
dc.year 2557
dc.description.abstractalternative The study aims to characterize to calcium oxide derived from three aquatic materials, i.e cuttlebone, mussel shell and oyster shell, The highest decomposition rater under two different surrounding gases, Le oxygen and nitrogen investigated by Thermal Gravimet Analysn (IGA exhibited no on cuttlebone and mussel shell while oyster Icant change shell provided the decomposition rate to be increased under nitrogen surrounding gas est This is probably because of the difference in their starting crystalline structure, he, aragonite and calcite, leading to various densifications and mass transfe rates of carbon dioxi The cubic calcium oxides were prepared under obygen and nitrogen surrounding gases with 5 C/min both ramping to 850oc for 2 hours. All resulting calcium oxides calcined under oygen atmosphere provided no significant change in phases, composition and the adsorption desorption isotherms is UPAC type Ill, whereas calcinations under ogen surrounding gas gave a presence of calcium hydroxide crystalline or contaminate existing with cubic calcium oxide. It may note that types of raw materials have no significant effect on resulting calcium oxide and their compositions, but the surrounding sases can provide significant effect on crystalline phase of Caloh02. The application of resulting materials can thus depend on surrounding gas of calcinations. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account