Abstract:
งานศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาคุณสมบัติของแคลเซียมออกไซด์จากวัสดุทางทะเล 3 ชนิด คือ กระดองปลาหมึก เปลือกหอยแมลงภู่และเปลือกหอยนางรม ภายใต้สภาวะออกซิเจนหรือไนโตรเจน โดยศึกษาการสลายตัวด้วยเครื่อง TGA (Thermal gravimetric analysis) พบว่า สภาวะบรรยากาศไม่มีผลต่ออัตราศึกษาการสลายตัวสูงสุดของกระดองปลาหมึกและเปลือกหอยแมลงภู่ แต่ในขณะที่เปลือกหอยนางรมมีอัตตราการย่อยสลายสูงสุดภายใต้บรรยากาศของไนโตรเจน ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากความแตกต่างกันทางด้านโครงสร้างผลึก คือ อะราโกไนต์และแคลไซต์ แคลเซียมออกไซด์ถูกเตรียมจากวัสดุทางทะเลที่กระบวนการแคลซิเนชั่นภายใต้บรรยากาศของไนโตรเจน ที่อัตราการเพิ่มอุณหภูมิ 5 C/min โดยการเพิ่มอุณหภูมิ 850 C เป็นเวลา 2 ชั่วโมง
หลังจากนั้นนาแคลซัยมออกไซด์ แคลเซียมออกไซด์ถูกเตรียมจากวัสดุทางทะเลที่กระบวนการแคลซิเนชั่นภายใต้บรรยากาศของออกซิเจนหรือไนโตรเจนด้วยวิธีการ BET(X-Ray Diffraction)วัดไอโซเทอมการดูดซับและคายก๊าซไนโตรเจนด้วยวิธีการ SEM-EDXs (Scanning Electron Microscopy-Energy Dispersive spectrometer) แคลเซียมภายใต้ที่เตรียมการใต้สภาวะบรรยากาศของออกซิเจน จะตรวจพบโครงสร้างของแคลเซียมไฮดรอไซด์ปนอยู่กับโครงสร้างของแคลเซียมออกไซด์ วัสดุทางทะเลทั้ง 3 ชนิดให้แคลเซียมออกไซด์และไอโซเทอมในการดูดซับและการคายซับชนิด IUPAC III สำหรับวัสดุทางทะเลทุกชนิด ในขณะที่กระบวนการแคลซิเนชั่นภายใต้บรรยากาศของไนโตรเจน จะตรวจพบโครงสร้างของแคลเซียมไฮดรอกไซด์อยู่กับโครงสร้างของแคลเซียมออกไซด์ จะขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้ที่นำไปใช้ประโยชน์ หากต้องการผลิตภัณฑ์ที่เป็นแคลเซียมออกไซด์วัสดุทางทะเลทั้ง 3 ชนิด ให้แคลเซียมออกไซด์ที่มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกัน การนาแคลเซียมออกไซด์ไปใช้ในประโยชน์ การนาแคลเซียมออกไซด์ไปใช้ในประโยชน์ จะขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้ที่นำไปใช้ประโยชน์ หากต้องการผลิตภัณฑ์ที่เป็นแคลเซียมออกไซด์สมบูรณ์ ควรเลือกบรรยากาศออกซิเจน แต่ถ้าหากผลิตภัณฑ์ที่เป็นแคลเซียมออกไซด์สมบูรณ์ ควรเลือกบรรยากาศออกซิเจน แต่ถ้าต้องการผลิตภัณฑ์ที่เป็นแคลเซียมออกไซด์รวมกับแคลเซียมไฮดรอกไซด์ ควรเลือกบรรยากาศของไนโตรเจน