DSpace Repository

บ้านเรือน: มรดกทางวัฒนธรรมเมืองชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author มนัส แก้วบูชา
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:08:38Z
dc.date.available 2019-03-25T09:08:38Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1744
dc.description.abstract การวิจัยเรื่อง บ้านเรือน: มรดกทางวัฒนธรรมเมืองชลบุรี ดำเนินการวิจัยในระหว่างปีพุทธศักราช 2555-2556 มีวัตถุประสงค์คือ 1) สำรวจ ศึกษา บันทึกข้อมูลประวัติศาสตร์บอกเล่า สภาพภูมิสังคม วัฒนธรรม วิถีชีวิตของชุมชนชาติพันธุ์ในชลบุรี 2) ศึกษารวบรวมข้อมูลคุณลักษณะทางวัฒนธรรมและลริบทของบ้านเรือนเก่าอายุ 70 ปี ไม่เปลี่ยนโครงสรา้งและผังพื้นเรือนที่ยังมีคนอาศัยอยู่ 3) สังเคราะห์และพัฒนาข้อมูลไปสู่การเรียนรู้และการท่องเที่ยวมรดกทางวัมนธรรมชลบุรี ผลการวิจัยพบว่า การเลือกทำเลที่ตั้งชุมชน บ้านเรือนแตกต่างกันทางด้านความถนัดทางอาชีพ ภูมิสังคม วัมนธรรม ส่วนรูปลักษณ์ของบ้านเรือน การวางผังบ้าน การวางผังพื้นเรือน และเชิงช่างเป็นไปตามขนบของบรรพบุรุษและชาติพันธุ์ ที่สอดรับกับความเชื่อ ชุมชน สิ่งแวดล้อม รวมทั้งประวัติพัมนาการ ได้แก่ 1) บ้านเรือนชาวจีน บางปลาสร้อย ทรงปั้นหยา 2) บ้านเรือนชาวนาป่ามีบริเวณพื้นที่และอุปกรณ์ทำนา 3) บ้านเรือนชาวไทย คหบดีชาวบ้านทวนค่าย รูปทรงโครงสร้างมีเอกลักษณ์ชลบุรี 4) บ้านเรือนชาวประมงอ่างศิลา ใช้พื้นที่เต็ม 5) บ้านเรือนตากอากาศ บางแสน ทรงบังกะโล สัดส่วนรูปทรงมีเอกลักษณ์ชลบุรี 4) บ้านเรือนชาวประมงอ่างศิลา ใช้พื้นที่เต็ม 5) บ้านเรือนตากอากาศ บางแสน ทรงบังกะโล สัดส่วนรูปทรงมีเอกลักษณ์บางแสน 6) บ้านเรือนชาวลาวหัวถนน มีเรือน มียุ้งแบบของแท้ดั้งเดิม 7) บ้านเรือนชาวมอญ บ้านเก่า รูปทรงเปลี่ยนไป การพัฒนาข้อมูลเพื่อเรียนรู้และการท่องเที่ยวมีผลลัพธ์เอกสารคู่มือ 3 เล่ม คือ 1) เรียนรู้และท่องเที่ยว 1 บ้านเรือน : ทางวัฒนธรรมเมืองชลบุรี 2) เรียนรู้และท่องเที่ยว 2 อ่างศิลา ชุมชนรัฐสนับสนุน 3) เรียนรู้และท่องเที่ยว 3 ชุมชนลาวหัวถนน ย่านคงสภาพของแท้ดั้งเดิม รัฐยังไม่ได้สนับสนุน ผลสรุปและข้อเสนอแนะ ด้านเอกสารสาธารณะทั้งสามเล่มนี้ เป็นการเรียนรู้และจัดการวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ใกล้ตัว จะช่วยสร้างเสริมความภาคภูมิใจแก่ตนเองและชุมชน ซึ่งสามารถพัฒนาข้อมูลไปปรับใช้เป็นแหล่งการเรียนรู้แหล่งท่องเที่ยวมรดกทางวัฒนธรรมที่กว้างขวางขึ้น ส่วนบ้านเรือนที่จะรื้อยายนั้น ควรมีโครงการอนุรักษ์ เคลื่อนย้ายอย่างเร่งรีบมาสงวนรักษาและเรียนรู้คู่ชลบุรีที่มหาวิทยาลัยบูรพาต่อไป th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การท่องเที่ยว th_TH
dc.subject มรดกทางวัฒนธรรม th_TH
dc.subject สาขาปรัชญา th_TH
dc.title บ้านเรือน: มรดกทางวัฒนธรรมเมืองชลบุรี th_TH
dc.title.alternative Built vernacular in Chonburi: Resume on cultural heritage en
dc.type Research
dc.year 2559
dc.description.abstractalternative The resume on Chonburi tangible-intangible cultural heritage was seek the former differing recognisable identity of built vernacular; which purposed to 1) investigations of narrative and socio-cultural life in its place 2) inventory assessment on initiative authentic physical fabric with cultural significances 3) proposed to interpretation guidelines for learning and touring handbooks, awareness managing. An appearances outcomes which coherences of difference settlement, building style, form, faces-floor plan, character and rules of ownership ancestor such specification as, A) Ban Bang PlaSoi the Chinese built style and form image of hip rafter roof, B) Ban Chaona Paa the rice farmer built and approachable to rice granary, cart hovel, farming activities, C) Ban Tuan Kai theThai tradition medical built image to Chonburi identily in area uses, smart arising architectural of pretly gable style, from, D) Ban Ang Sila the fishery built that full-scale of seacoast function uses, E) BangSean the seaside built style, form image for open space as Brauhaus which only BangSean aspect, F) Ban Hua Thanon the authentic of Laos Vieng built style, form, rice granary and sacred place for public rite, G) Ban Kao the Mon built style, form and theirs animism place. Finally, overriding through interpretation, proudly understanding values on 3 Guidelines of ChonBuri's cultural learning and touring for young generations and all of specific intention. The parallel on built vermacular in which current damage would be replace in Burapha University as museum. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account