DSpace Repository

การผลิตเอนไซม์ตรึงรูปที่มีศักยภาพในการสลายสารปนเปื้อนกลุ่มเอไมด์และไนไตร์ล

Show simple item record

dc.contributor.author จิตติมา เจริญพานิช
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:08:36Z
dc.date.available 2019-03-25T09:08:36Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1724
dc.description.abstract ความสนใจในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สืบเนื่องมาจากการปนเป็นของสารเคมีเป็นสิ่งที่กำลังได้รับความนิยมเพิ่มสูงขึ้นและนำไปสู่การค้นหากระบวนการควบคุมแบบยั่งยืนที่ไม่ส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม การสลายทางชีวภาพเป็นหนึ่งในวิธีที่นิยมใช้ในการกำจัดสารอินทรีย์ ปนเป็อนที่ไม่พึงประสงค์ ให้อยู่ในระดับความเข้มข้นที่ไม่สามารถตรวจสอบได้หรือต่ำกว่าค่าอันตรายที่กำหนด แต่ก็ยังมีหลักที่จะต้องพิจารณาคือศักยภาพในการสลายและการค้นหาสิ่งมีชีวิตที่มีประสิทธิภาพที่จะนำมาใช้ในการสลายได้อะคริลาไมด์ เป็นสารเคมีในรูปผลึกของแข็งที่ไม่มีสีไม่มีกลิ่นที่มีการใช้อย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมและมีกำลังการผลิตต่อปีสูงถึงประมาณสองแสนตัน จากการใช้อย่างแพร่หลายนำมาสู่การปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมที่มาจากสองช่องทางหลักคือ จากผลิตภัณฑ์ อาหารที่ผ่านการปรุงแต่งที่อุณหภูมิสูงมากกว่า 120 องศาเซลเซียส และเป็นของเสียตกค้างในระดับอุตสาหกรรม ซึ่งเคยพบรายงานการปนเปื้อนของอะคริลาไมด ์ในสิ่งแวดล้อมสูงถึง 200-500 ppm และเนื่องจากมีรายงานยืนยันว่าอะคริลาไมด์ เป็นสารพิษที่ส่งผลต่อระบบประสาทและมีแนวโน้มสูงที่จะเป็นสารก่อมะเร็งในคน การสลายทางชีวภาพของสารอะคริลาไมด์ เป็นสารที่มีอันตรายน้อยลงจึงเป็นสิ่งที่กำลังพิจารณามาใช้ในการลดปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นจากสารชนิดนี้จากข้อเท็จจริงที่ว่าจุลินทรีย์ ที่อาศัยอยู่ในทะเลมีลักษณะพิเศษในการเปลี่ยนแปลงตัวเองเพื่อการดำรงชีวิตและเจริญในสภาวะสิ่งแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลง และเคยมีรายงานถึงการใช้ประโยชน ์สารอินทรีย หลายชนิดโดยจุลินทรีย์ ในทะเล แต่ทั้งนี้ยังไม่เคยมีรายงานถึงการสลายสารพิษจากจุลินทรีย์ ในทะเล ในโครงการวิจัยนี้คณะผู้วิจัยได้ค้นพบ Bacillus cereus ซึ่งแบคทีเรียสลายอะคริลาไมด ์ชนิดใหม่ที่คัดแยกได้จากตะกอนทะเลจากเกาะจานแสมสาร ที่ระดับความลึก 18 เมตร แบคทีเรียสามารถเจริญได้ดีในสภาวะที่มีอะคริลาไมด์ ความเข้มข้นสูงถึงร้อยละ 0.8 น้ำหนักต่อปริมาตร ในสภาวะที่มีค่าพีเอชช่วงกว้าง ระหว่าง 6.0-9.0 และอุณหภูมิ 25-30 องศาเซลเซียส โดยสามารถตรวจพบการสลายของอะคริลาไมด เป็นกรดอะคริลิกภายหลังการเลี้ยงแบคทีเรียเป็นเวลา 3 ชั่วโมง และตรวจพบการสลายสูงที่สุดที่เวลา 24 ชั่วโมง ผลการทดลองที่ได้แสดงให้เห็นถึงความน่าสนใจของแบคทีเรียใต้ทะเลที่จะเป็นแหล่งผลิตสิ่งมีชีวิตที่สามารถสลายอะคริลาไมด์ แหล่งใหม่ได้ th_TH
dc.description.sponsorship ได้บทุนสนับสนุนการวิจัย งบประมาณเงินแผ่นดิน มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ 2557 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การสลายทางชีวภาพ th_TH
dc.subject แบคทีเรียใต้ทะเล th_TH
dc.subject อะคริลาไมด์ th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title การผลิตเอนไซม์ตรึงรูปที่มีศักยภาพในการสลายสารปนเปื้อนกลุ่มเอไมด์และไนไตร์ล th_TH
dc.title.alternative Construction of an immobilized enzyme with the potential for amide/ nitrile degradation en
dc.type Research
dc.author.email jittima@buu.ac.th
dc.year 2558
dc.description.abstractalternative The interest in environmental problems due to chemical contamination is continuously growing. Increasing demands to seek the sustainable and controllable process which do not burden the environment significantly is becoming interest. Biodegradation is one of the classic methods for removal of undesired organic compounds to concentrations that are undetectable or below limits established as acceptable by regulatory agencies. Major limitations are the bioavailability of the organic matter and the finding of efficient biodegraders. Acrylamide (CH2CHCONH2) is a chemical colorless and odorless crystal solid that is an essential industrial chemical with an estimated worldwide production of 200,000 tons per year. The major concentration of acrylamide in the environment comes from 1) food scraps cooked at high temperatures (>120°C) thru Maillard reaction and 2) industrial wastes. It has a report describing acrylamide released to the environment about 200-500ppm. Since acrylamide is believed to be a neurotoxicant and probably human carcinogen, biodegradation of acrylamide to non-harmful substances would alleviate environmental concerns. Microorganisms living in the sea have specially adapted features that allow them to live and grow in the extreme environment. Many organic compounds have been utilized by these microorganisms however no report could be found for toxicant removal. We discover a new acrylamide-degrading bacterium, Bacillus cereus from the sea sediments at 18 meters depth of Koh Chan, Samaesan. The strain grew well in the presence of acrylamide at concentration up to 0.8% (w/v), at pH value between 6.0 and 9.0 and 25-30°C. Degradation of acrylamide to acrylic acid started after 3 hours of cultivation and reach maximum at 24 hours. Our findings render marine bacteria attractive as an alternative source of biodegrader for acrylamide en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account