DSpace Repository

รูปแบบพิพิธภัณฑ์ศิลปวัฒนธรรมเสมือนภาคตะวันออก

Show simple item record

dc.contributor.author บุญชู บุญลิขิตศิริ th
dc.contributor.author ฉัตรวรรณ์ ลัญฉวรรธนะกร th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:08:36Z
dc.date.available 2019-03-25T09:08:36Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1722
dc.description.abstract งานวิจัยโครงการ รูปแบบพิพิธภัณฑ์ศิลปวัฒนธรรมเสมือนภาคตะวันออกนี้ มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยในครั้งนี้เพื่อสงเคราะห์เอกสารและศึกษาความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ เกี่ยวกับรูปแบบพิพิธภัณฑ์ศิลปวัฒนธรรมเสมือนภาคตะวันออกรวมทั้งพื่อพัฒนาและนำเสนอรูปแบบพิพธภัณฑ์ศิลปวัฒนธรรมเสมือนภาคตะวันออก โดยมีขั้นตอนของการดำเนินการวิจัยประกอบด้วย ระยที่ 1 การสังเคราะห์เอกสารและความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับรูปแบบพิพิธภัณฑ์ศิลปวัฒนธรรมเสือนภาคตะวันออก ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบพิพิธภัณฑ์ศิลปวัฒนธรรมเสมือนภาคตะวันออกและใน ระยะที่ 3 เป็นการนำเสนอรูปแบบพิพิธภัณฑ์ศิลปวัฒนธรรมเสมือนภาคตะวันออกโดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกการลงรายการเชิงสังเคราะห์ม แบบสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ,แบบสอบถามความคิดเห็น และ ใบรับรองรูปแบบ ในส่วนของกลุ่มตัวอย่างของงานวิจัยได้แก่ ผู้ดำเนินงานพิพิธภัณฑ์ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการออกแบบความจริงเสมือน(Virtual Reality) ผลการวิจัยพบว่า การออกแบบรูปแบบพิพิธภัณฑ์ศิลปวัฒนธรรมเสมือนจริงภาคตะวันออกประกอบด้วยการจัดแสดงเนื้อหาเรื่องราวผ่านสื่อมัลติมีเดียหลากหลายรูปแบบในพิพิธภัณฑ์ศิลปวัฒนธรรมเสมือนรวมทั้งสิ้น 7 ตอน ประกอบด้วย 1) ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของภาคตะวันออกใช้การนำเสนอผ่านภาพ 3 มิติ ประกอบกับภาพกราฟิก ข้อความ รวมทั้งบทบรรยายในการอธิบายลักษณะทางภูมิศาสตร์ 2) กลุ่มชาติพันธ์ในภาคตะวันออก นำเสนอผ่านวีดีทัศน์ประกอบคำบรรยาย,ข้อความ ภาพกราฟิก รวมทั้งภาพ 3 มิติ ในการอธิบายลักษณะทางชาติพันธ์ กิจกรรม วัฒนธรรมรวมทั้งลักษณะที่อยู่อาศัยของชาติพันธ์ต่างๆ 3) ชุมชนโบรานทางภาคตะวันออก นำเสนอผ่านวีดีโอทัศน์ประกอบคำบรรยาย, ข้อความร่วมทั้งภาพกราฟฟิกและภาพ 3 มิติในการอธิบายลักษณะเฉพาะของพื้นที่รวมทั้งข้อมลูทางประวัติศาสตร์ 4) รูปแบบจิตรกรรมของภาคตะวันออกนำเสนอโดยใช้ภาพกราฟิก ผสานกับคำบรรยายและรูปภาพประกอบในการอธิบายข้อมลู 5) รูปแบบประติมากรรมภาพตะวันออกใช้ของภาพ 3 มิติประกอบคำบรรยายและข้อความในการนำเสนอข้อมลู 6) รูปแบบสถาปัตยกรรมของภาคตะวันออกใช้ภาพ 3 มิติ ประกอบกับบทบรรยาย ภาพกราฟิกและข้อความในการนำเสนอข้อมลู และ 7) ศิลปหัตถกรรมของภาคตะวันออกใช้วีดีทัศน์ผสานกับภาพกราฟิก, บทบรรยาย ,ข้อความรวมทั้งภาพ 3มิติในการอธิบายข้อมลู สำหรับเครื่องมือในพิพิธภัณฑ์ศิลปวัฒนธรรมเสมือนภาคตะวันออกประกอบด้วย 7 เครื่องมือ ประกอบด้วย 1) เครื่องมือแสดงหมวดหมู่ของการจัดแสดง 2) แผนที่สำหรับผู้เข้าชม 3) เครื่องนำทางสำหรับผู้เข้าชม 4) เครื่องมือช่วยเหลือหรือแนะนำการใช้งานพิพิธภัณฑ์เสมือน 5) เครื่องมือขยายภาพสิ่งจัดแสดง 6) เครื่องมือสื่อสาน 7) เครื่องมือเชื่อมโยงข้อมูลทรัพยากรกับภานนอกพิพิธภัณฑ์เสมือน th_TH
dc.description.sponsorship ทุนอุดหนุนการวิจัย งบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject พิพิธภัณฑ์ th_TH
dc.subject ศิลปวัฒนธรรม th_TH
dc.subject สาขาปรัชญา th_TH
dc.title รูปแบบพิพิธภัณฑ์ศิลปวัฒนธรรมเสมือนภาคตะวันออก th_TH
dc.title.alternative Model of Eastern of Arts and culture virtual museum en
dc.type Research
dc.year 2558
dc.description.abstractalternative The purpose of this research is to study, design, and develop a model of eastern arts and culture virtual museum in Thailand. The research methods comprised of three steps: Step 1: Study a eastern arts and culture virtual museum in Thailand by analyzing and synthesizing related documents and interviewing the experts in the arts, culture and virtual museum fiddles. Step 2: Design and develop a model of eastern arts and culture virtual museum in Thailand. And, Step 3: Present a model of eastern arts and culture museum in Thailand. The instruments consisted of an opinion questionnaire and a product evaluation form. The research results indicated that: The design of eastern arts and culture virtual museum in Thailand which consisted of 7 displays were 1) Geographic characteristics of Eastern using graphic,texts, narration, and 3D Model to describe geographic characteristics of Eastern, 2)Ethnic groups in Eastern using graphic, VDO, narration, texts, and 3D Model to describe ethnic characteristics, activities, tradition, and buildings of people in eastern, 3) Major Historic Ancient Cities in Eastern Region using graphic, VDO, narration, texts and 3D Model to describe location characteristics as well as historical data of Eastern Thailand, 4) Form of paintings in eastern using graphic, texts and narration to present data, 5) Fore of sculptures in eastern using 3D Model,texts and narration to present data, 6) Form of architecture in eastern using graphic, narration, texts, and 3D Model to present data, and 7) Form of handicraft in eastern using graphic, VCD, narration, texts, and 3D Model to present data. For tools in eastern arts and culture virtual museum consisted of 1) Category tool 2) Map 3) Navigation tool 4) Help tool 5) Zoom tool 6) Communication tool and 7) External resource en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account