dc.contributor.author | ภารดี มหาขันธ์ | |
dc.contributor.author | นันท์ชญา มหาขันธ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:08:31Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:08:31Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1630 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) ศึกษาพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ อัตลักษณ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น พนัสนิคม 2) ศึกษากระบวนการสรา้ง การสืบทอด และการเปลี่ยนแปลงภูมิปัญญาท้องถิ่น 3) การจัดองค์ความรู้ตามวัตถุประสงค์ทั้งสองข้อให้เป็นระบบ อยู่ในสภาพพร้อมใช้และเข้าถึงได้ง่าย ผลการวิจัยพบว่า ความอุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และที่ตั้งสัมพันธ์ ทำให้พื้นที่นี้เป็นพื้นที่ที่มนุษย์เข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ยุคประวัติศาสตร์ก่อนสมัยราชอาณาจักรไทย สมัยราชอาณาจักรไทย และรัฐไทยปัจจุบัน ภูมิปัญญาที่ถือเป็นอัตลักษณ์ของท้องถิ่นพนัสนิคม ซึ่งเป็นผลผลิตของความพยายามที่จะดำรงอยู่ร่วมกับธรรมชาติ และสังคมซึ่งประกอบด้วยประชากรอย่างน้อย 3 กลุ่มชาติพันธุ์ใหญ่ ๆอย่างตระหนักในคุณค่าของกันและกัน ได้แก่ ประเพณีบุญกลางบ้าน เครื่องจักรสานพนัสนิคม และการเล่นทายโจ๊กปริศนา ซึ่งวัฒนธรรมภูมิปัญญาทั้ง 3 ด้านนี้ผ่านกระบวนการสรา้งสรรค์ สืบทอด เปลี่ยนแปลง และพัฒนาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีในปัจจุบัน | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ประวัติศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | ภูมิปัญญาท้องถิ่น | th_TH |
dc.subject | อัตลักษณ์ | th_TH |
dc.subject | สาขาปรัชญา | th_TH |
dc.title | พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ อัตลักษณ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นพนัสนิคม | th_TH |
dc.type | Research | |
dc.year | 2558 | |
dc.description.abstractalternative | This research is guided by 3 objectives: 1) to study historical evolution, identity and local wisdom in Panusnikom district of Chon Buri province, 2) to examine the creation, inheritance, and evolution of local wisdom, and 3) to manage the knowledge gained from the study for the two aforementioned objectives for easy access and use. The findings show that the abandon of natural resources and environment and the location are the main factors attracting people to have been settling down in this area since pre-historical period, the time before the establishment of the Kingdom of Thailand until now. Three unique pieces of local wisdom which are the products of interdependence of nature and human being society (which is consisted of at least 3 main ethnic groups) are " Boon Klang Bann" tradition or communal merit making ceremony, wickerwork, and verse puzzle game. These three unique pieces of local wisdom were created and have been inherited and evolved in concordance with the change of economic condition, social context, and technology. | en |
Files | Size | Format | View |
---|---|---|---|
There are no files associated with this item. |