dc.contributor.author |
อานนท์ วงษ์แก้ว |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:07:12Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:07:12Z |
|
dc.date.issued |
2555 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1560 |
|
dc.description.abstract |
ประสิทธิภาพการเสริมกำลังรับแรงอัดของเสาคอนกรีตเสริมเหล็กด้วยวิธีที่นิยมใช้ในประเทศไทยสามวิธี คือ การเสริมกำลังเสาด้วยวิธีเพิ่มหน้าตัดด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก การเสริมกำลังเสาด้วยวิธีเพิ่มหน้าตัดด้วยคอนกรีตชนิด
ไม่หดตัว และการเสริมกำลังเสาด้วยวิธีการพันด้วยแผ่นไฟเบอร์คาร์บอน ถูกนำเสนอผ่านผลการศึกษานี้ด้วยการทดสอบตัวอย่างเสาในห้องปฏิบัติการ เตรียมตัวอย่างเสา ค.ส.ล. ทดสอบต้นแบบ (C) ชนาดหน้าตัด 15x15, 20x20 และ 25x25 เซนติเมตร สูง 40 เซนติเมตร จำนวนหน้าตัดละ 5 ตัวอย่าง เมื่อบ่มอายุคอนกรีตจนได้อายุ 28 วัน นำตัวอย่างเสา ค.ส.ล. ต้นแบบจำนวนหน้าตัดละ 4 ตัวอย่างมาทำการเสริมกำลังด้วยวิธีเพิ่มหน้าตัดด้วยคอนกรียเสริมเหล็ก (RCJ) 1 ตัวอย่าง ทำการเสริมกำลังด้วยวิธีเพิ่มหน้าตัดด้วยคอนกรีตชนิดไม่หดตัว (NS) 1 ตัวอย่าง และทำการเสริมกำลังด้วยวิธีการพันรอบด้วยแผ่นไฟเบอร์คารืบอน 1 ชั้น (F1) จำนวน 1 ตัวอย่าง และ 2 ชั้น (F2) 1 ตัวอย่าง จากนั้นทำการทดสอบความสามารถในการรับแรงอัดของเสาแต่ละหน้าตัดรวมทั้งหมดเป็น 15 ตัวอย่าง นำค่ามาวิเคราะห์เปรียบเทียบ พร้อมทั้งสังเกตพฤติกรรมการพังของเสา จากผลการทดสอบเสาสรุปได้ว่าการเสริมกำลังเสาทั้งสามวิธีช่วยเพิ่มกำลังรับแรงอัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ยกเว้นวิธีการเสริมกำลังด้วยการเพิ่มหน้าตัดด้วยคอนกรีตชนิดไม่หดตัว นอกจากนั้นเสาที่เสริมกำลังด้วยวิธีนี้ยังมีพฤติกรรมการพังแบบเปราะ ดังนั้นการเสริมกำลังเสาด้วยวิธีเพิ่มหน้าตัดด้วยคอนกรีตชนิดไม่หดตัว (NS) โดยใช้รายละเอียดเหล็กยืนที่มุมเสาและพันรอบด้วยลวดตะแกรง เป็นการเสริมกำลังที่ไม่มีประสิทธิภาพ ไม่สมควรนำไปใช้ในงานก่อสร้างจริง |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย งบประมาณแผ่นดิน ประจำปี 2554 สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ปูนซีเมนต์ |
th_TH |
dc.subject |
ไฟเบอร์ใยแก้ว |
th_TH |
dc.subject |
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย |
th_TH |
dc.title |
การประเมินกำลังเสาคอนกรีตเสริมเหล็กที่เสริมกำลังด้วยวิธีเพิ่มหน้าตัดด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กวิธีเพิ่มหน้าตัดด้วยปูนซีเมนต์ชนิดไม่หดตัว และวิธีการพันด้วยแผ่นไฟเบอร์ใยแก้ว |
th_TH |
dc.title.alternative |
Evaluation of reinforced concrete columns strengthened by reinforced concrete, Non-shrinkage cement, and GFRP jackets |
en |
dc.type |
งานวิจัย |
|
dc.year |
2555 |
|
dc.description.abstractalternative |
effectiveness of three conventional practices to enhance the compressive strength of reinforced concrete columns in Thailand was presented in this study. Three column strengthening techniques widely used in Thailand namely as Reinforced Comcrete Jacketing (RCJ), Non-shrinkage Concrete Jacketing (NS), and Carbon Fiber Reinforced Paper (F) were investigated through laboratory experiments. Five reinforced concrete specimen columns with a dimension of 15x15, 20x20, and 25x25 cm. and 40 cm. in heights were casted. After curing of 28 days, four of each specimen dimension were strengthened by RCJ, NS, F1 and F2 techniques,respectively. The results show that the columns strengthened by RCJ, F1 and F2 and F2 have compressive force increased comparing to the control specimens. The NS cilumns, on the other hand, show an insignificant increasing of a compressive strength for all specimen dimensions. This indicates unsuccessful improvement of the compressive force by using the Non-shrinkage Concrete Jacketing technique with the details of four main reinforcing bars at the corners and wrapping around with the low-strength wire mesh. All techniques can also improve the deformation of columns, except the Non-shrinkage Concrete Jacketing.Therefore, it can conclude that Reinforced Concrete Jacketing and Carbon Fiber Reinforced Paper techniques can increase the compressive strengths of reinforced concrete columns. In contrast, Non-shrinkage Concrete Jacketing techniques is not only ineffective for increasing of the column strength but also no use for improving of the column deformation. It should not be recommended in constructions unless it has a further study on the detaols of reinforcements. |
en |