DSpace Repository

โครงการวิจัยความหลากหลายชนิดพรรณพืชและภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนบ้านอ่างเอ็ด จังหวัดจันทบุรี.

Show simple item record

dc.contributor.author เบญจวรรณ ชิวปรีชา th
dc.contributor.author ชัยมงคล คงภักดี th
dc.contributor.author เกศราภรณ์ จันทร์ประเสริฐ th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:07:08Z
dc.date.available 2019-03-25T09:07:08Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1513
dc.description.abstract ศึกษาความหลากหลายชนิดพรรณพืชและภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนบ้านอ่างเอ็ด จังหวัดจันทบุรีสำรวจและเก็บตัวอย่างในพื้นที่โครงการพัฒนาป่าชุมชน บ้านอ่างเอ็ด ตำบลตกพรม อำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2555 ถึงเดือนเมษายน 2557 พบพรรณไม้ทั้งหมด 48 วงศ์ 80 สกุล 81 ชนิด ไม่สามารถระบุชนิดได้ 10 ชนิด ไม่สามารถระบุรูปวิธานได้ (unidentified) 1 ชนิด ข้อมูลจากสัมภาษณ์หมอพื้นบ้าน พบว่า ใช้เป็นสมุนไพร 45 ชนิด ใช้เป็นอาหาร 2 ชนิดใช้ประโยชน์ด้านอื่น ๆ (ฝาบ้าน มุงหลังคา ห่อของ ยาเบื่อ กันแมลง) 6 ชนิด พืชที่มีการกระจายสูงที่สุด คือ เร่วป่า พบ 23 แปลง จาก 29 แปลงสำรวจ th_TH
dc.description.sponsorship ได้รับทุนอุดหนุนงานวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนรัฐบาล) มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ 2556 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ภูมิปัญญาชาวบ้าน -- ไทย -- ชุมชนบ้านอ่างเอ็ด (จันทบุรี) th_TH
dc.subject ความหลากหลายทางชีวภาพ th_TH
dc.subject ป่าชุมชน -- ไทย -- จันทบุรี th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title โครงการวิจัยความหลากหลายชนิดพรรณพืชและภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนบ้านอ่างเอ็ด จังหวัดจันทบุรี. th_TH
dc.type Research th_TH
dc.author.email benchawon@buu.ac.th
dc.author.email kasaraporn@buu.ac.th
dc.year 2557
dc.description.abstractalternative Diversity of plants and indigenous knowledge of communities was studied at Ban Ang-Ed official community forest (Chaipattana foundation), Chantaburi province. Exploration and collection of botanical specimens was made form August 2012 to April 2014. Specimens were classified into 48 families 80 genera 81 species 10 unidentified species and 1 unidentified. By interviewing herbalists, they were found that 45 species of those were folk medicine. Two species were edible plants and 6 species were recommended for the other purpose such as house building, animal poison, packaging and insecticide. Amomum uliginosum K.D. Konig were the highest distribution plants that they were found in 23 plots from 29 plots en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account