DSpace Repository

โครงการ คอมโพสิตรักษ์สิ่งแวดล้อมจากพอลิแลคติกแอซิดและเส้นใยสับปะรด

Show simple item record

dc.contributor.author สุปราณี แก้วภิรมย์
dc.contributor.author ศิริเดช บุญแสง
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:07:08Z
dc.date.available 2019-03-25T09:07:08Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1510
dc.description.abstract งานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาสมบัติเชิงกลและสัณฐานวิทยาของคอมโพสิตชีวภาพที่ผลิตจากพอลิแลคติกแอสิดโดยมีเส้นใยสับปะรด (PALF) เป็นสารเสริมแรง เส้นใยสับปะรดที่ใช้สกัดได้จากใบสับปะรดด้วยวิธีเชิงกล (ใช้เครื่องขูดใบ) ตรวจสอบสัณฐานวิทยาของพื้นผิวและสมบัติความทนต่อแรงดึงของเส้นใยด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็คตรอนแบบส่องกราดและเครื่องทดสอบแรงดึงอเนกประสงค์ ก่อนเตรียมคอมโพสิต เส้นใยสัปปะรดจะถูกตัดให้มีความยาวประมาณ 1-3 ซม. และผสมกับพอลิแลคติกแอสิด (PLA) ด้วยเครื่องผสมแบบเกลียวหนอนคู่ (Twin-screw extruder) ในปริมาณเส้นใยร้อยละ 10-50 ก่อนที่จะขึ้นรูปเป็นชิ้นงานด้วยเครื่องขึ้นรูปแบบฉีด (Injection molding) การทดสอบแรงดึงของคอมโพสิตตามวิธีมาตรฐาน ASTM D638 พบว่าค่ามอดุลลัส ของยัง (Young’s modulus) ของคอมโพสิตเพิ่มขึ้นเมื่อปริมาณเส้นใยเพิ่มขึ้น โดยคอมโพสิตที่มีปริมาณเส้นใยร้อยละ 50 มีค่ามอดุลัสของยัง เพิ่มขึ้นจาก PLA ร้อยละ 68 ส่วนคอมโพสิตที่มีปริมาณเส้นใยร้อยละ 40 มีค่ามอดุลัสของยังเพิ่มขึ้นจาก PLA ร้อยละ 48 แต่มีค่าความหนืดขณะหลอม (Melt viscosity) ต่ำกว่าคอมโพสิตที่มีปริมาณเส้นใยร้อยละ 50 นอกจากนี้ เพื่อปรับปรุงความเข้ากันได้ของ PLA กับเส้นใย งานวิจัยนี้ยังได้เติมสารคู่ควบ (Coupling agent)มาเลอิกแอนไฮไดร์ ร้อยละ 10 ลงในคอมโพสิตที่มีปริมาณเส้นใยร้อยละ 40 ผลที่ได้พบว่าค่ามอดุลัสของยังของคอมโพสิตเพิ่มจาก 3.8 เป็น 5.1 GPa หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 34 th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากงบประมาณเงินทุนอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject คอมโพสิต th_TH
dc.subject เส้นใยสับปะรด th_TH
dc.subject สิ่งแวดล้อม th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช th_TH
dc.title โครงการ คอมโพสิตรักษ์สิ่งแวดล้อมจากพอลิแลคติกแอซิดและเส้นใยสับปะรด th_TH
dc.title.alternative Green composite from poly (lactic acid) and pineapple leave fiber en
dc.type Research
dc.year 2557
dc.description.abstractalternative This work aimed to study the mechanical properties and morphology of pineapple fiber-reinforced poly (lactic acid) composites. The fiber was mechanically extracted from pineapple leaves, so called PALF. The fiber surface morphology and tensile properties were observed by scanning electron microscopy (SEM) and universal tensile tester, respectively. The fiber was chopped into a specified length (1-3 mm.) and blended with poly (lactic acid); PLA, using a twin-screw extruder, with the content of 10-50 wt%. The extruded compounds and pure PLA were molded to tensile test specimens by injection molding. The tesile properties of the composites were studied, according to ASTM D638. The results showed that Young’s modulus of the composites increased with increasing the fiber content. The composites with 50 wt% fiber displayed the highest tensile modulus of 68% increase, compared to that of the pure PLA. The composite with 40 wt% of PALF content showed lower melt viscosity than the composite With 50 wt% of PALF and exhibited only 48% increase in tensile modulus, compared to that of The pure PLA. In order to improve the tensile modulus of the composite with 40 wt% of PALF, 10 wt% of maleic anhydride coupling agent was applied. Their tensile properties were observed And compared with the composite with no coupling agent. The results showed that the tensile modulus of the composites with and without coupling agent were 5.1 and 3.8 GPa, respectively. In other words, the tensile modulus of the composite with a coupling agent was improved by 34% en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account