dc.contributor.author | ทัศนีย์ ทานตวณิช | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:07:07Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:07:07Z | |
dc.date.issued | 2547 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1491 | |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่อง “ข้อผิดพลาดในการเขียนเชิงวิชาการของนิสิตวิชาเอกภาษาไทย มหาวิทยาลัยบูรพา” เป็นการวิจัยเอกสาร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อผิดพลาดด้านเนื้อหาการใช้ภาษาไทย และรูปแบบในการเขียนเชิงวิชาการของนิสิตวิชาเอกภาษาไทย มหาวิทยาลัยบูรพา และวิเคราะห์สาเหตุของความผิดพลาดตลอดจนเสนอแนะวิธีแก้ไขข้อผิดพลาดในการเขียนดังกล่าว ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ เค้าโครงการศึกษาในรายวิชา 228391: การศึกษาค้นคว้าทางภาษาไทย 1 ของนิสิต หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต วิชาเอกภาษาไทย ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนปลาย ปีการศึกษา 2555 จำนวน 69 ฉบับ ผลการวิจัยพบว่า ข้อผิดพลาดในการเขียนเชิงวิชาการของนิสิตวิชาเอกภาษาภาษาไทย มหาวิทยาลัยบูรพา มี 3 ด้าน ดังนี้ 1. ข้อผิดพลาดด้านเนื้อหา พบข้อผิดพลาดในการเขียนหัวข้อต่าง ๆ ดังนี้ 1) ชื่อเรื่อง 2) ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา 3) วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า 4) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการศึกษาค้นคว้า 5) ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 6) วิธีดำเนินการศึกษาค้นคว้า 7) นิยามศัพท์เฉพาะ 8) เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า 2. ข้อผิดพลาดด้านการใช้ภาษา พบข้อผิดพลาด ดังนี้ 1) ข้อผิดพลาดในการเขียนสะกดคำ 2) ข้อผิดพลาดในการใช้คำ 3) ข้อผิดพลาดในการเขียนประโยค 4) ข้อผิดพลาดในการเขียนย่อหน้า 5) ข้อผิดพลาดในการใช้เครื่องหมายวรรคตอนและตัวเลข 3. ข้อผิดพลาดด้านรูปแบบพบข้อผิดพลาด ดังนี้ 1) ระบบหัวข้อ 2) การอ้างอิงในเนื้อหา 3) บรรณานุกรม 4) ตาราง สาเหตุของข้อผิดพลาด มีดังนี้ 1. ด้านเนื้อหา 6 สาเหตุ 2. ด้านการใช้ภาษา 5 สาเหตุ 3. ด้านรูปแบบ 5 สาเหตุ และแนวทางแก้ไขข้อผิดพลาด มีดังนี้ 1. การเสริมสร้างความรู้ 2. การพัฒนาทักษะ 3. การปลูกฝังทัศนคติ | th_TH |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนสนับสนุนจากงบประมาณเงินรายได้ปี 2556 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การเขียนเชิงวิชาการ | th_TH |
dc.subject | สาขาปรัชญา | th_TH |
dc.title | ข้อผิดพลาดในการเขียนเชิงวิชาการของนิสิตเอกภาษาไทย มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.title.alternative | Common errors in academic writing made by Thai major students, Burapha University | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2547 | |
dc.description.abstractalternative | This documentary research “Common errors in academic writing made by Thai major students, Burapha University” aims at studying the errors in Thai language usages including contents, grammar and format, made by students in Thai Major, Burapha University. The purpose is to analyze the cause of the errors as well as to suggest error corrections Data for this research were collected from sixty-nine research proposal papers from course number 228391: Thai Research 1 submitted by students studying in the Third year of Bachelor degree of Arts, second semester of academic year 2012, From the research findings, errors are categorized into three groups: Content, language usages, and format. In content errors, the research finds that students make errors on making topic, introducing background and importance of the study, generating purposes of the research, making the expectations of the research, expressing the limitation of the research, determining the methodology of research, giving terms and definitions, and composing paragraphs of related literatures. In language usages errors, the research finds that students make errors on spelling, misusing of terms, constructing sentences, creating paragraphs, and using incorrect punctuation makes and numbering. In format errors, the research finds that students make errors on arranging and managing topics, referring related works, writing bibliography, and formatting tables. The research finds the causes of the errors according to the errors. Content errors are derived from 6 causes. Language usages errors are generated from 5 causes. Format errors are rooted from 5 causes. The researcher suggest that to reduce the errors, students should be taught to all extend by 1. Improving knowledge 2. Strengthening language skills and 3. Embedding the right attitude toward the use of language. | en |