dc.contributor.author |
เกรียงศักดิ์ เขียวมั่ง |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:07:05Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:07:05Z |
|
dc.date.issued |
2557 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1458 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยเรื่อง เทคโนโลยีการผลิตถ้วยเซรามิกส์เผาไฟต่ำสำหรับรองรับน้ำยางพารา ผู้วิจัยได้ศึกษาเปรียบเทียบหาเทคโนโลยีการผลิตและการออกแบบถ้วยเซรามิกซ์ ที่เหมาะสมกับกลุ่มชุมชนเกษตรกรผู้ปลูกยางพาราในเขตภาคตะวันออก โดยมีวัตถุประสงค์หลักดังนี้ 1. เพื่อศึกษาพัฒนาใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นให้เกิดประโยชนืสูงสุด 2. เพื่อลดต้นทุนในการซื้อถ้วยเซรามิกส์ 3. เพื่อออกแบบ พัฒนาทดลองผลิตถ้วยเซรามิกซ์ ผลจากการวิจัยพบว่า ดินเหนียว อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี มีสมบัติความเหนียวดี สามารถนำมาขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนไฟฟ้าได้ และจากผลหลังการเผาทดสอบ พบว่าดินสามารถนำไปเผาได้ที่อุณหภูมิ 1,050 องศาเซลเซียส มีความแข็งแรง สามารถนำมาใช้เป็นวัตถุดิบหลักในการผลิตถ้วยเซรามิกส์ ทำให้สามารถลดต้นทุนในการขนส่ง
ขนาดของถ้วยเซรามิกส์ที่เหมาะแก่การผลิตพบว่ามี 2 ขนาดคือ ขนาด 400 มิลลิลิตร และขนาด 600 มิลลิลิตร การออกแบบควรออกแบบให้ก้นถ้วยด้านในมีความโค้งมนเพื่อสะดวกต่อการเทและการปาดน้ำยางออกจากถ้วย ปากถ้วยควรมีขอบยางหนาเพื่อความแข็งแรงต่อการใช้งาน เคลือบด้วยน้ำเคลือบไฟต่ำบริเวณภายใน เผาที่อุณหูมิ 1,050 องศาเซลเซียส ในบรรยากาศการเผาไหม้แบบสมบูรณ์และใช้เตาแก๊สในการเผา จากกระบวนการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ถ้ากลุ่มเกษตรกรสามารถรวมกลุ่มกันได้และผลิตถ้วยเซรามิกส์ไฟต่ำใช้เองจะสามารถลดต้นทุนในการซื้อถ้วยเซรามิกส์จากผู้ผลิตหรือผู้แทน จำหน่ายได้ประมาณ 3-4 บาท/ใบ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
งานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากเงินงบประมาณแผ่นดิน ทุนอุดหนุนโครงการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ฐานราก สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
เทคโนโลยีการผลิต |
th_TH |
dc.subject |
เซรามิกส์ |
th_TH |
dc.subject |
สาขาปรัชญา |
th_TH |
dc.title |
เทคโนโลยีการผลิตถ้าวยเซรามิกส์เผาไฟต่ำสำหรับรองรับน้ำยางพารา |
th_TH |
dc.title.alternative |
Technology production of low firing ceramic cup for para rubber latex |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.year |
2557 |
|
dc.description.abstractalternative |
This research is in the topic "Technology production of low firing ceramic cups for Para rubber latex" The study is to compare difference technologies and design on the ceramic cups that appropriate to use in the community group of the eastern timber growers. The objectives are as follows: 1. To study the use of local raw materials to the maximum benefit; 2. To design, develop, and experiment on producing ceramic cups. The results of the study show that clay from Phanthong district, Chon Buri province is quite durable and can be formed in an electric wheel throwing. Afterthe firing test, the study found that the clay can be fired at 1,050 degree Celsius. It is strong enough that can be used as a raw material in the manufacturing of ceramic cups. It can also reduce the cost of transportation.
There are 2 sizes for the ceramic cups that are suitable in the production which are 400 ml. and 600 ml. The design should be concerned on making the inner bottom of the cup rounded in order to pour and wipe the rubber latex from the cup. The cup should also have a think edge in order to be very strong and long lasting. It is glazed with a low temperature glaze technique inside at 1,050 degree Celsius with the oxidation firing and by using the gas kiln. In conclusion, the farmers can get together and produce these low temperature ceramic cups by themselves. It will decrease the cost of buying cups from the manufactures or distributors about 3-4 bath/cup. |
en |