DSpace Repository

การจัดการมรดกภูมิปัญญาด้านวรรณกรรมพื้นบ้าน : บทสวดสรภัญญะบ้านค้อ ตำบลดอนเงิน อำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม

Show simple item record

dc.contributor.advisor ภรดี พันธุภากร
dc.contributor.advisor มนัส แก้วบูชา
dc.contributor.author ศุภกร ไชยรงศรี
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2024-02-05T06:44:13Z
dc.date.available 2024-02-05T06:44:13Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12777
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559
dc.description.abstract งานวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ (1) ศึกษาสํารวจคุณลักษณะทางวัฒนธรรมและบริบททางสังคมของชุมชนชาวบ้านค้อ (2) เพื่อสํารวจบันทึก วิเคราะห์ข้อมูลภูมิปัญญาด้านวรรณกรรมพื้นบ้าน บทสวด สรภัญญะบ้านค้อ (3) เพื่อนําข้อมูลบทสวดสรภัญญะไปอนุรักษ์โดยเสนอชื่อเพื่อขึ้นทะเบียนเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ การวิจัยใช้หลักการและหลักเกณฑ์ของการจัดการมรดกทางวัฒนธรรมขององค์กรวิชาชีพทางวัฒนธรรมอีโคโมสประเทศไทย การจัดการความรู้การเสนอชื่อเพื่อขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ด้านวรรณกรรมพื้นบ้าน กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กรมส่งเสริมพระพุทธศาสนากระทรวงวัฒนธรรม วิถีชีวิตทางวัฒนธรรมของภาคอีสาน และหลักการวิเคราะห์ดนตรี ชาติพันธุ์ โดยเก็บข้อมูลจากผู้ขับร้องกลอนสรภัญญะ ผู้ประพันธ์ ครู พระภิกษุ และชาวบ้านในพื้นที่ ผลการวิจัยพบว่า คุณลักษณะทางวัฒนธรรมบ้านค้อขึ้นอยู่กับการปกครองจังหวัดมหาสารคาม ชุมชนมีวัดวิไลธรรมมารามเป็นที่พึ่ง มีภูมิปัญญาหลากหลายโดยเฉพาะการสวดสรภัญญะ แบบดั้งเดิมได้รับการสืบทอดมายาวนานกว่า 153 ปี วรรณกรรมพื้นฐานที่เป็นเนื้อหาทั่วไปของสรภัญญะอีสาน คือ บทนําบูชาพระรัตนตรัย บทสรรเสริญ บทหลัก บทธรรมะ และบทสรุปกล่าวลา ฉันทลักษณ์ คือ กลอนหัวเดียวแบบดั้งเดิมและกาพย์ยานีแบบประยุกต์ พบกลอนสรภัญญะรวม 103 กลอน จําแนกตามหมวดหมู่วิเคราะห์ลักษณะทํานองได้ (1) กลอนสรภัญญะแบบดั้งเดิม 47 กลอน (2) กลอนสรภัญญะแบบประยุกต์ 56 กลอน เนื้อหาวรรณกรรมส่วนใหญ่เกี่ยวกับหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ชาดก คือ พระเวสสันดรชาดก ลักษณะทํานองมีความหลากหลายได้รับอิทธิพลมาจากทํานองลํา หรือทํานองอีสาน ส่วนกลอนสรภัญญะแบบประยุกต์เป็นกลอนที่ได้รับการประพันธ์ขึ้นมาใหม่เนื้อหาวรรณกรรมส่วนใหญ่จะทันสมัยหยิบยกเรื่องราวของวิถีชีวิตประจําวันเหตุการณ์บ้านเมือง ตัวบุคคลมาประพันธ์ ลักษณะทํานอง ดัดแปลงมาจากทํานองโบราณ ทํานองส่วนใหญ่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน ไม่หลากหลายเท่ากับทํานองดั้งเดิม ก็มีลักษณะเนื้อหาในด้านเดียวกัน แนวทางการอนุรักษ์ผู้วิจัยได้ดําเนินการตามระเบียบการขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ที่ได้กําหนดไว้ในคู่มือของกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรมต่อไป
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารศิลปะและวัฒนธรรม
dc.subject ภูมิปัญญาชาวบ้าน -- ไทย -- มหาสารคาม
dc.subject วรรณกรรมพื้นบ้าน -- มหาสารคาม
dc.title การจัดการมรดกภูมิปัญญาด้านวรรณกรรมพื้นบ้าน : บทสวดสรภัญญะบ้านค้อ ตำบลดอนเงิน อำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม
dc.title.alternative Intellectual cultural heritage managing into vernacular folklore a sorapanya phyme: Narrative by Bankor Senioritor, Donngern, Chiengyun, Mahasarakham Province
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This research aims (1) to study, discover and identify cultural characteristics and social contexts of Bankor community (2) to explore and keep intellectual folklore data: a Sorapanya rhyme (3) to preserve a Sorapanya rhyme as one of the national heritage. This research is using the method and the principle of the Thailand International Council on Monuments and Sites (ICOMOS), Knowledge management of national cultural heritage preservation, folk literation, Department of Cultural Promotion, Department of Buddhism, Ministry of Culture. This research also concerns about Northeastern ways of life and cultures and the principle analysis of ethnic music. The information for the research is a narrative by Sorapanya singer, Sorapanya writers, teachers, monks, and folks in the area. The research found that the attribute of folk culture is depended on the administration of Mahasarakam Province. The community has Wilaidhammaram temple as a spiritual anchor. The community has a variety knowledge especially Sorapanya rhyme. The original Sorapanya has been inheriting for longer than 153 years. The folk literature which is the content of Northeastern Sorapanya is a preface, salutation to the Triple Gem, encomium, main content, Dhamma, and the conclusion. Prosody is an originally poem and the poem that consists 11 syllables. The research found 103 Sorapanya poems which could be separated according to the rhythm. The poems are separated into 2 groups. First, the original Sorapanya has 47 poems. Socond, applied Sorapanya rhyme has 56 poems. The contents of the literature are mostly about Buddhism Dhamma principles, Jataka which are stories of the former incarnations of the Load Buddha. The Jakata that is being told is the story of Vessantara. The rhythms are diverse and have been influenced by Isan rhyme and rhythms. Meanwhile, the applied Sorapanya is the rhyme that has been lately composed and the stories are quite modern such as lifestyle, daily life routine, people, and also political situations. The rhythm of the applied Sorapanya is applied from the ancient ones. The rhythms are similar with others and not as diverse as the original ones. This research is operating the preservation of the national cultural heritage according to the regulations for the registration of the intangible cultural heritage which are assigned in the handout by Department of Cultural Promotion, Ministry of Culture.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การบริหารศิลปะและวัฒนธรรม
dc.degree.name ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account