DSpace Repository

การออกแบบอัตลักษณ์สากลจากภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยการมีส่วนร่วมแหล่งท่องเที่ยวแบบสโลว์ทาวน์ในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงตะวันออก-ตะวันตก ในประเทศไทย

Show simple item record

dc.contributor.advisor เกรียงศักดิ์ เขียวมั่ง
dc.contributor.advisor รวี หาญเผชิญ
dc.contributor.author กษม อมันตกุล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2024-02-05T06:44:02Z
dc.date.available 2024-02-05T06:44:02Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12772
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)-- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559
dc.description.abstract การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นและอัตลักษณ์ร่วมแหล่งท่องเที่ยว สโลว์ทาวน์ในเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง และออกแบบและพัฒนาอัตลักษณ์องค์กรณ์ชุมชนต้นแบบเป็นแหล่งท่องเที่ยวสโลว์ทาวน์ในเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง โดยมีขอบเขตการวิจัย คือ แหล่งท่องเที่ยวสโลว์ทาวน์ในพื้นที่ศึกษาบนเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ตะวันออก-ตะวันตก หรือเส้นทางหมายเลข 9 (R9) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือในประเทศไทย ซึ่งประกอบด้วย จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดกาพสินธุ์ และจังหวัดขอนแก่น โดยสอบถามจากผู้นำชุมชน (นายอำเภอ) จำนวน 10 คน ในเส้นทางหมายเลข 9 ผ่านตามการจัดกลุ่ม 3 ลักษณะ ประกอบด้วย กลุ่มสถาปัตยกรรม กลุ่มศิลปกรรม และกลุ่มหัตถกรรม ผลการวิจัย พบว่า พื้นที่วิจัย คือ บ้านป่าเหลื่อม (แก่งดอนจาน) ตำบลดอนช้าง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เป็นต้นแบบของแหล่งท่องเที่ยวสโลว์ทาวน์เพราะมีการสงวนรักยาหรืออนุรักษ์ไว้ซึ่งเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม มีรูปแบบวัฒนธรรมที่มีความสงบสุข มีรูปแบบวัฒนธรรมของตนเอง มีการปลูกจิตสำนึกในรูปแบบวัฒนธรรมของตนเอง มีการแสดงถึงความเจริญงอกงามทางวัฒนธรรม มีการดำรงอยู่ของกลุ่มชาติพันธุ์ มีการจำแบกชาติพันธุ์ใบชุมชน มีการเสริมสร้างอัตลักษณ์ของบุคคลและของชาติพันธุ์ในชุมชน มีการรณรงค์ให้ใส่ชุดเสื้อผ้าที่ผลิตในท้องถิ่น และประชาชนรับประทามอาหารที่ปรุงจากวัตถุดิบพื้นบ้านตามฤดูกาล การออกแบบและพัฒนาอัตลักษณ์องค์กรชุมชนต้นแบบเป็นแหล่งท่องเที่ยวสโลว์ทาวน์ในเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ผลการวิจัยพบว่า การใช้เส้นในการออกแบบเส้นตรงทั้ง แนวนอนแนวตั้งหรือแม้กระทั่งเส้นเฉียงแสดงออกถึงความเรียบง่ายตามวิถีของเมืองสโลว์ทาวน์ ในการใช้สีในการออกแบบใช้สีที่มีเชิงความหมายและความรู้สึก ทั้งสีฟ้า แดง และเหลือง สีน้ำเงินหรือสีดำ มีความหมายถึงการทำพิธีในการปักเฉลว ในวันศุกร์ และสีฟ้าเป็นสีประจำวันศุกร์ มีความรู้สึกถึงความสดใส ร่มเย็น สดชื่น และเรียบง่ายตามวิถีของสโลว์ทาวน์ สีแดงหรือสีชมู มีความหมายถึงครั่ง ที่เป็นตัวเชื่อมอุปกรณ์ที่นำมาทำพิธีการปักเฉลว มีความรู้สึกถึงความสวยงาม น่าเชื่อถือ และเรียบง่ายตามวิถีของสโลว์ทาวน์ สีเหลือง มีความหมายถึงเป็นสีของฝ่ายผูกแขนและดินสอพองที่เป็นอีกหนึ่งอุปกรณ์ในการนำมาทำพิธีปักเฉลวมีความรู้สึกถึงความอุดมสมบูรณ์และเรียบง่ายตามวิถีของสโลว์ทาวน์ การใช้รูปร่างในการออกแบบผู้วิจัยได้เลือกนำรูปร่างของเฉลว แบบ 5 มุม
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.subject แหล่งท่องเที่ยว
dc.subject ภูมิปัญญาชาวบ้าน
dc.subject Humanities and Social Sciences
dc.subject วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก
dc.subject อัตลักษณ์ -- การออกแบบ
dc.title การออกแบบอัตลักษณ์สากลจากภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยการมีส่วนร่วมแหล่งท่องเที่ยวแบบสโลว์ทาวน์ในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงตะวันออก-ตะวันตก ในประเทศไทย
dc.title.alternative Identity design with an indigenous-inspired for tourism of slow town in gms economic corridor east-west in thailand
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The objective of this research is to study the local sights and identitiesWinslow Town Car in the GMS Economic Corridor and to design and develop an identity. The community prototype is Winslow Town In the sub-regional Economic Corridor Basin. The scope of the research is the Mekong Tourism Winslow Town in Economic Mekong East -West (East-West Economic Corridor: EWEC) or Route 9 (R9), which consists of the northeastern province of Mukdahan, Kalasin, and Khon Kaen. The methodology is asking for information from 10 community leaders and grouping into 3 characteristics. The group consists of architecture, arts, and crafts The result found that Forest offsets (curry dish Don) Don Muang Khon Kaen, Thailandis a prototype of the tourist town because of the following factors: the preservation or conservation of cultural identity, a culture of peace, a form their own culture, growingawareness in their own culture, the exuberant culture, the existence of an ethnic group, classification of ethnic communities, strengthen identity person and of the ethnic communities. There is a campaign to wear local clothing manufacture, to eat local food, and to produce local seasonal ingredients. The results found that role model design used straight, horizontal, and vertical lines or even North line to express the simple path of slow town. Also the use of color in the design expressed a semantic sense such as dark blue or blue represents the Chaleaw ceremony on Friday. Read or pink give a sense of aesthetic, reliability, and simplicity and also refer to Lac insect to connect the equipment for Chaleaw ceremony. Yellow gives a sense of cotton and white clay, one of equipments for Chaleaw ceremony, and also refer to plentiful and simplicity of slow town. Finally, the researcher selected the shape of Chaleaw, five corner, as a guideline for the design.
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline ทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.degree.name ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account