DSpace Repository

เป็น อยู่ คือ ในโลกเดียวกัน ศิลปวิจัยวิจัยการเปิดเผยตนในพื้นที่สาธารณะเมือง

Show simple item record

dc.contributor.advisor ไพโรจน์ ชมุนี
dc.contributor.advisor สุชาติ เถาทอง
dc.contributor.author ฝอยฝน ชัยมงคล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2024-02-05T06:43:53Z
dc.date.available 2024-02-05T06:43:53Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12769
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559
dc.description.abstract การศึกษาครั้งนี้เป็นความพยายามสร้างสิ่งที่เป็นได้ทั้งงานศิลปะและงานวิจัยเพื่อเปีนหลักฐานในการพิสูจน์ว่าพื้นที่สาธารณะที่แท้จริงสามารถส่งเสริมให้คนแปลกหน้ามีโอกาสพบปะกับฉับมิตรและไว้วางใจกัน วัตถุประสงค์ของการศึกษา คือ เพื่อทำความเข้าใจลักษณะทางกายภาพของความเป็นสาธารณะแล้วพัฒนาแบบถอดรหัสความเป็นสารารณะในพื้นที่ เพื่อสำรวจและถอดรหัสพื้นที่สาธารณะเมือง เพื่อทำการทดลองภาคสนามโดยใช้เวลาเขียนภาพในพื้นที่สาธารณะเมืองและศึกษาการเปีดเผยตนโดยผู้เข้าร่วมการทดลองที่พบในแต่ละพื้นที่ เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างคู่ความเป็นสาธารณะกับจำนวนผู้เข้าร่วมการทคลองแต่ละขั้นและคู่เฉลี่ยความลึกของการเปิดเผยตนในพื้นที่แต่ละแห่ง และเพื่อฉายภาพความเป็นไปได้ที่งานวิจัยและงานศิลปะสามารถเป็นสิ่งเดียวกันได้ในบางโอกาสและยังพอมีความหวังที่มนุษย์จะอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข ระเบียบวิธีที่ใช้เป็นแบบผสมระหว่างการวิเคราะห์เนื้อหาโดยตรงกับการพัฒนาแบบร่างกระบวนการวิจัยและกรทดลองภาคสนามโดยเขียนภาพและวาดภาพในพื้นที่ที่มีค่าความเป็นสาธารณะสูงสุดและต่ำสุด จากกรุงเทพฯ ไทเป และสิงคโปร์ เป็นเวลารวม 96 ชั่วโมง ข้อมูลจากการทดลองภาคสนามจะถูกวิเคราะห์ทั้งเชิงปริมาณ คุณภาพ และสร้างสรรค์ ผลการทดลองพบว่า มีความสัมพันธ์เชิงบวกระดับปานกลางระหว่างคู่ความเป็นสาธารณะและจำนวนผู้ที่ปรากฎเข้าร่วมการทดลองโดยหยุดดูยิ้มทัก และพูดคุยกับผู้วิจัย และเมื่อปรับค่าความเป็นสาธารณะ โดยคำนวณรวมความเข้าใจภาษาที่สื่อสารกับสภาพอากาศ และวันในสัปดาห์ พบว่า มีความสัมพันธ์เชิงบวกระดับปานกลางระหว่างคู่ความเป็นสารารณะที่ปรับแล้วกับจำนวนผู้ที่หยุดดู พูดคุย เป็นแบบ และยอมให้ข้อมูลติดต่อ และยังพบความสัมพันธ์เชิงบวกระดับสูงระหว่างค่ำความเป็นสาธารณะที่ปรับแล้วและจำนวนผู้เข้าร่วมการทดลองที่ยิ้มทักและเล่าเรื่องส่วนตัวให้ฟังระหว่างเป็นแบบ ตลอดจบมีความสัมพันธ์เชิงบวกระดับปานกลางระหว่างค่ำความเป็นสาธารณะที่ปรับแล้วและค่าเฉลี่ยความลึกการเปิดเผยตนในแต่ละพื้นที่ อย่างไรก็ตาม ไม่พบว่ามีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญระหว่างค่าความเป็นสาธารณะและความลึกของการเปิดเผยตน ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าพื้นที่สาธารณะดึงดูดผู้คนเข้าหากันได้จริง แต่การที่พื้นที่สาธารณะจะทำงานได้เต็มศักยภาพนั้นต้องอาศัยบริบทด้านสถานการณ์ที่เหมาะสมด้วย การศึกษานี้อาจเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจสำหรับหน่วยงานรัฐที่ดูแลเมืองหรือนักลงทุนในการสร้างสรรค์พื้นที่ สาธารณะ นอกจากนี้ยังอาจเป็นประโยชน์สำหรับนักวิจัยหรือศิลปินที่มุ่งพัฒนาโครงการที่อาจเป็นได้ทั้ง งานศิลปะและงานวิจัยในเวลาเดียวกัน
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.subject จิตวิทยาสิ่งแวดล้อม
dc.subject Humanities and Social Sciences
dc.subject วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก
dc.subject การเปิดเผยตนเอง
dc.subject ศิลปะ -- วิจัย
dc.title เป็น อยู่ คือ ในโลกเดียวกัน ศิลปวิจัยวิจัยการเปิดเผยตนในพื้นที่สาธารณะเมือง
dc.title.alternative Being in the world we shre” n rtistic reserch on selfdisclosure in the urbn public spce
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This study is an attempt to create the entity which could be both the work of art and the research, in the hope that it could be the evidence to prove the hypothesis that the true public space could reinforce the trust among strangers. The objectives of the study are as followings; (1) to analyze the physical aspects of the publicness and develop the coding sheet for publicness (2) to survey and code the urban public space (3) to conduct a series of field experiment by spending time to draw and paint in various public spaces, and study the self-disclosure of the participants found in each place. (4) to analyze the relationship between the publicness index and the average level of self-disclosure in each space.(5) to illustrate the possibility that the research and work of art can sometimes be a single entity, and that the hope for the peaceful coexistence actually exists. The methodology is mixed, between the direct content analysis, the research process design development method, and the field experiment by drawing and painting in the space with highest and lowest publicness index from each city for 96 hours. The data gained from the field experiment was analyzed in the quantitative, qualitative, and creative approach. Moderately positive relationship was found between the publicness index (P.I.) and the number of people who appeared and participated by stop to look, smile, and talk to the researcher. Moreover, when the publicness index is adjusted by the language capacity, the weather, and the day of the week, there is also the moderately positive relationship between this adjusted publicness index (A.P.I.) and the number of participants who stopped to look, talked, modeled, and allowed further contact. There was also the strong positive relationship between the A.P.I. and the number of people who smiled and told personal stories. And moderately positive relationship between the A.P.I. and the average depth of self-disclosure in each place was also found. However, there was no significant relationship between the P.I. and the depth of self-disclosure. Thus, the results demonstrated that the public space also need the proper situational context in order to function as a sociopetal space at its maximum potential. This study may be informative for any city government or investor in the creation of public space. It can also be beneficial for any researcher or artist wishing to develop further projects which can be both the work of art and research simultaneously.
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline ทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.degree.name ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account