DSpace Repository

เมมเบรนไคโตซาน/พอลิ (อะคริเลต) อินเทอร์เพนิงเทรทิง พอลิเมอร์เน็ทเวิร์ค สำหรับใช้งานด้านชีวการแพทย์

Show simple item record

dc.contributor.author ธนิดา ตระกูลสุจริตโชค
dc.contributor.author ปริยา นุพาสันต์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:04:23Z
dc.date.available 2019-03-25T09:04:23Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1272
dc.description.abstract วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือ การสังเคราะหือินเทอร์เพนิเทรทิงพอลิเมอร์เน็ตเวิร์ค ระหว่างไคโตซาน/พอลิ (ไฮดรอกซีเอทิล เมทาไครเลท) (CHI/PKEMA IPNs) ภายใต้สภาวะการทดลองต่าง ๆ โดยพอลิเมอไรเซชันของไฮดรอกซีเอทิล เมทาไครเลทมอนอเมอร์ถูกริเริ่มด้วย K2 S2 O8 และพอลิเมอร์โครงสร้างร่างแหของไคโตซานถูกเตรียมขึ้นโดยใช้กลูตารัลดีไฮด์เป็นสารเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุล สมบัติของ IPNs ที่เตรียมขึ้นถูกวิเคราะห์ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอนแบบส่องกราด เทคนิคฟูริเออร์ทรานฟอร์มอินฟราเรด สเปกโทรสโกปี และการรวมตัวในตัวทำละลาย นอกจากนี้ IPN ที่อัตราส่วน 60CHI/40PHEMA ได้นำไปเตรียมเป็นคอมโพสิตเมมเบรนกับซิงค์ออกไซด์ขนาดอนุภาคระดับนาโนเมตร (nano-ZnO) จากนั้นวิเคราะห์สมบัติทางเคมี สมบัติทางกายภาพ และสมบัติทางความร้อน ส่วนสมบัติการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ถูกทดสอบโดยใช้จุลินทรีย์สองชนิดคือ S. aureus และ E.coli พบว่า CHI/PHEMA IPNs ไม่สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อได้ แต่ nano-ZnO IPN คอมโพสิตแสดงสมบัติการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียทั้งสองชนิด และประสิทธิภาพการยับยั้งเชื้อเพิ่มขึ้นเมื่อเพิ่มปริมาณ nano-ZnO ในคอมโพสิต th_TH
dc.description.sponsorship ทุนอุดหนุนโครงการวิจัยงบประมาณเงินรายได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช th_TH
dc.subject ไคโตซาน th_TH
dc.title เมมเบรนไคโตซาน/พอลิ (อะคริเลต) อินเทอร์เพนิงเทรทิง พอลิเมอร์เน็ทเวิร์ค สำหรับใช้งานด้านชีวการแพทย์ th_TH
dc.title.alternative Chitosan/poly (acrylate) interpenetrating polymer network membranes for biomedical application en
dc.type Research
dc.year 2555
dc.description.abstractalternative The purpose of this study was to prepare interpenetrating polymer networks of chitosan/poly(hydroxyethyl methacrylate) (CHI/ PHEMA IPNs) under different experimental conditions. The polymerization of hydroxyethy1 methacrylate monomer was initiated by K2 S2 O8 while crosslinking of chitosan network was achieved using glutaraldehyde as a crosslinking agent. The properties of the prepared IPNs were analyzed by several techniques, such as scanning electron microscopy (SEM), Fourier transform infrared spectroscopy (FTIR) and swelling test. Furthermore, the 60CHI/40PHEMA IPN was used to prepared composite membranes with zinc oxide nano-particles. The chemical, physical and thermal properties of the membranes were characterized. Their anti-microbial property was also investigated using two species of bacteria, the S. aureus and E. coli. The results showed that the IPN/ZnO nano-composites possessed antibacterial property while none of this property was observed from yhe pure-IPN. The antibacterial activity of the nano-composites was enhanced by increasing the amount of nano-ZnO. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account