dc.contributor.advisor |
เกรียงศักดิ์ เขียวมั่ง |
|
dc.contributor.advisor |
อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก |
|
dc.contributor.advisor |
อภิสักก์ สินธุภัค |
|
dc.contributor.advisor |
อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม |
|
dc.contributor.author |
ยลพรรณ รอดรักบุญ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2024-01-25T08:56:30Z |
|
dc.date.available |
2024-01-25T08:56:30Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12694 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559 |
|
dc.description.abstract |
การออกแบบสื่อปฏิสัมพันธ์พิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาดเป็นการวิจัยเพื่อพัฒนา ประชาสัมพันธ์ส่งเสริมภาพลักษณ์พิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด และพัฒนาแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ด้วยสื่อปฏิสัมพันธ์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สื่อปฏิสัมพันธ์ที่พัฒนาขึ้นให้เหมาะสมกับพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด ซึ่งสถานที่ตั้งของพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาดอยู่บนพื้นที่กลางใจเมือง สะดวกในการเดินทางด้วยรถไฟฟ้า จัดแสดงโบราณสถานและโบราณวัตถุที่ทรงคุณค่า มีธรรมชาติที่ร่มรื่น ซึ่งให้ความรู้ทางศิลปและวัฒนธรรมไทย แต่เนื่องจากขาดการประชาสัมพันธ์ที่มีความน่าสนใจในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายจึงจําเป็นต้องมา การสร้างเอกลักษณ์สร้างสรรค์ให้เข้ากับสื่อ การออกแบบสื่อปฏิสัมพันธ์พิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาดเพื่อการส่งเสริมภาพลักษณ์ของ พิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด มีกลุ่มเป้าหมายหลักคือกลุ่มนักเรียนและนักศึกษา ผู้วิจัยลงภาคสนาม ค้นคว้าศึกษาข้อมูลถึงประวัติความเป็นมาของพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาดและสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ทางพิพิธภัณฑ์ ฯ โดยมุ่งหวังเพื่อพัฒนาการออกแบบสื่อให้เหมาะกับพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด จากการศึกษาข้อมูลและทําแบบสอบถามจากกลุ่มเป้าหมายพบว่าอิทธิพลของสื่อจากสมาร์ทโฟน มีผลต่อกลุ่มเป้าหมายมากที่สุด ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์รูปแบบในการออกแบบให้เหมาะสมกับพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด ผสมผสานกับทฤษฏีพฤติกรรมมนุษย์ เพื่อกระจายสื่อประชาสัมพันธ์แอพพลิเคชั่นพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาดเพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์พิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาดและส่งเสริมให้เป็นแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่หรือนอกห้องเรียนในอนาคต |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ |
|
dc.subject |
สื่อ |
|
dc.subject |
สื่อ -- การออกแบบ |
|
dc.subject |
พิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด |
|
dc.title |
การออกแบบสื่อปฏิสัมพันธ์พิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด |
|
dc.title.alternative |
Interctive design for sunpkkd plce museum |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
Digital media application design of Suan Pakkad Palace Museum is the research to
develop public relations and to promote a brand image including to develop learning
environmentsof interactive media. The objective is to analyze interactive media to make suitable
for Suan Pakkad Palace Museum. Suan Pakkad Palace Museum is located in the heart of
downtown Bangkok which is easy access to BTS skytrain. The museum is a collection of
traditional style and has Thai antiques on display with beautiful natural surroundings. However,
lacking of public relation, the museum cound not be able to reach the target group which is
necessary to create the cooperative identity with media tools.
The target group of this research is students both in high school and university. The
researcher is actively involved in fieldwork and worked closely with staffs at the museum to
interview and collect data by focusing on media design development for Suan Pakkad Palace
Museum. As the results of study and questionnaires from target group, the impzct factor of media
usage is smartphone. Therefore, the researcher analyzes the data and pattern for media design
combining with the human behavior theory to spread public relations application to promote a
brand image of Suan Pakkad Palace Museum. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
ทัศนศิลป์และการออกแบบ |
|
dc.degree.name |
ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|