dc.contributor.author |
ศรีสุดา แซ่อึ้ง |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:01:24Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:01:24Z |
|
dc.date.issued |
2553 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1206 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้เป็นการสังเคราะห์วัสดุรูพรุนซิลิกาที่มีหมู่ฟังก์ชันบนผิวรูพรุน โดยหมู่ฟังก์ชันดังกล่าวคือหมู่เอมีน ซึ่งได้จากการทำปฏิกิริยาโคคอนเดนเซชันระหว่างสารตั้งต้น 2 ชนิด ได้แก่ tetraethoxysilane (TEOS) และ n-(2-aminoethy)-3-aminopropyltrimethoxysilane (AEAP) หมู่เอมีนจะเป็นลิแกนด์หนึ่งของสารตั้งต้น AEAP ซึ่งจะไม่เกิดปฏิกิริยาใดๆ ระหว่างการสังเคราะห์แล้ว ในงานวิจัยนี้จะศึกษาผลของปริมาณสารตั้งต้น AEAP (0-50 mo1%) ที่มีต่อคุณลักษณะของวัสดุรูพรุนที่สังเคราะห์ได้ ได้แก่ พื้นที่ผิวจำเพาะ (Specific surface area) ปริมาตรรูพรุน (Pore volume) ขนาดรูพรุน (Pro size) ความสามารถในการดูดซับเมื่อประยุกต์ใช้วัสดุรูพรุนนี้เป็นสารดูดซับสำหรับไอระเหยฟอร์มัลดีไฮด์ จากผลการวิจัย พบว่า ปริมาณสารตั้งต้น AEAP มีผลต่อพื้นที่ผิวจำเพาะและปริมาตรรูพรุน กล่าวคือ เมื่อเพิ่มปริมาณสารตั้งต้น AEAP จะทำให้พื้นที่ผิวจำเพาะและปริมาตรรูพรุนของสารดูดซับลดลง แต่การเพิ่มปริมาณสารตั้งต้น AEAP นี้จะเป็นการเพิ่มหมู่เอมีนบนผิวรูพรุนซึ่งจะสังเกตได้จากการที่สารดูดซับมีความสามารถในการดูดซับไอระเหยฟอร์มันดีไฮด์ได้มากขึ้น เมื่อปริมาณสารตั้งต้น AEAP เพิ่มขึ้น นั้นมีขีดจำกัดอยู่ที่ 15 mo1% ซึ่งทีปริมาณดังกล่าวจะทำให้ได้สารดูดซับที่มีประสิทธิภาพดีที่สุด คือสามารถดูดซับไอระเหยฝฟอร์มัลดีไฮต์ได้มากกว่า 1,200 mg/g |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
วัสดุรูพรุนซิลิกา |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย |
th_TH |
dc.title |
การดูดซับฟอร์มัลดีไฮด์วัสดุรูพรุนซิลิกาที่มีหมู่เอมีนเป็นหมูฟังก์ชัน |
th_TH |
dc.type |
งานวิจัย |
|
dc.year |
2553 |
|
dc.description.abstractalternative |
Amine-functionalized mesoporous silica materials were tailored through the co- condensation reaction of tetraethoxysilane (TEOS) and-(2-aminoethy)-3-aminopropyltrimethoxysilane (AEAP). Pores of these materials were generated by adding pore-forming agent, cetyltrimethylammonium bromide (CTAB), to the mixture during synthesis step. The amount of amine precursor, AEAP, was varied in range of 0-50 mo1% to study is effect on the characteristics of materials such as specific surface area, pore volume and pore size, including adsorption capacity for formaldehyde vapor when they were used as adsorbents. The results exhibited the effect of AEAP loading on specific surface area and pore volume. An increase of AEAP loading caused a decrease of specific surface area and pore volume of materials. In contrary, amine active sites increase with an increase of AEAP loaded on pore surface was limited at15 mo1%. More amount of AEAP than this limitation caused the inhibition of co- condensation reaction and yielded the low surface area and active amine site adsorbent. The adsorbent synthesized at the suitable condition has the highest adsorption capacity for formaldehyde which is more than 1,200 mg/g. |
en |