dc.contributor.author |
ปารีชา รัตนศิริ |
|
dc.contributor.author |
อนุพนธ์ พิมพ์ช่วย |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:01:22Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:01:22Z |
|
dc.date.issued |
2549 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1190 |
|
dc.description.abstract |
โครงการนี้มีจุดประสงค์ในการออกแบบและจักสร้างเคื่องคั้นน้ำกระทิที่มีลักษณะเหมาะสำหรับการใช้งานในครัวเรือน ร้านอาหาร และร้านเบเกอร์รี่โดยนำหลักสูตตรของสกูรอัด
ในการออกแบบเครื่องคั้นน้ำกระทิ แบ่งออกเป็น 4 ส่วนหลัก คื ฝาครอบชุดคั้น ชุดคั้นน้ำกระทิ ระบบส่งกำลัง และโครงสร้างฐาน โดยในส่วนของฝาครอบชุดคั้นสร้างจากท่อสแตนเลสขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 60 มิลลิเมตร และยาว 180 มิลลิเมตร ในส่วนของชุดคั้นน้ำกระทิมัลักษณะเหมือนสกูอัดในเคื่องคั้นน้ำกระทิแบสบสกูรอัดตามท้องตลาดแต่ต่างกันตรงที่ไม่มีการลดระยะพิตซ์ โดยมีขนาดจัดสร้าง ดังนี้ เส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก 56 มิลลิเมตร มีความยาว 180 มิลลิเมตร จำนวน 4 ร่องเกลียว ความลึกร่องเกลียวด้านเข้า 20 มิลลิเมตร ความลึกร่องเกลียวด้านออก 1 มิลลิเมตร และมุมฮีลิกซ์ 17.5 องศา ในส่วนระบบของกำลังใช้มอเตอร์เฟืองทดกระแสตรง 120 วัตต์ 24 โวลต์ 75 รอบต่อนาที และในส่วนสุดท้ายโครงสร้างฐานจะใช้เหล็กฉาก L20x20 ต่อเป็นฐานขนาด 100x210x250 มิลลิเมตร
หลังจากการทดสอบเครื่องคั้นน้ำกระทิ รุ่นที่ 2 พบว่าเครื่องคั้นน้ำมีประสิทธิภาพเท่ากับ 71.27% (โดยสามารถคั้นน้ำกระทิได้ 427.6กรัม ต่อเนื้อมะพร้าวขูด 1,000 กรัม ใช้เวลา 2.11 นาที) และใช้เวลาในการคั้นเพื่อให้ได้น้ำกระทิ 1,000 กรัม เทกับ 5.11 นาที โดยเครื่องคั้นน้ำกระทิ รุ่นที่ 2 นี้มีประสิทธิภาพ ในการคั้นสูงที่สุดและใช้เวลาในการคั้นน้อยที่สุดต่อเนื้อมะพร้าวขูด 1,000 กรัม เมื่อเปรียบเทียบกับเครื่องคั้นน้ำกระทิแบบเฟืองคู่ รุ่นที่ 1 (65.5%,3.41 นาที)และเครื่องคั้นน้ำกระทิแบบใบพัด(50%,2.24 นาที) สำหรับแนวทางการพัฒนาต่อไปคือ การปรับปรุงให้เครื่องคั้นน้ำกระทิสามารถที่จะคั้นชิ้นมะพร้าวที่มีขนาดใหญ่ได้โดยการเพิ่มตัวขูดมะพร้าวที่ทำหนี้ท่บดชิ้นมะพร้าวให้มีขนาดเล็กลง |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
เครื่องคั้นน้ำกระทิ |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย |
th_TH |
dc.title |
การพัฒนาเครื่องคั้นน้ำกระทิ |
th_TH |
dc.type |
Research |
|
dc.year |
2549 |
|
dc.description.abstractalternative |
This project aims to design and build a coconut milk squeezing machine that is sufficiently capable of a use in households, small-size food and bakery businesses,The design of machine is applied from the compression-screw and the screw- injection mould theories.
The design is divided into four parts: the main container, the squeezing part, transmission and body. The main container is made from stainless tube. Its inner diameter and length are 60 mm and long 180 mm respectively. The squeezer is a machine aluminum compression- screw type which is similar to the commercial product its pitch is smaller. The squeezer’s outer diameter and length are 56 mm and 180 respectively. The screw has 4 teeth with a helix angle of 17.5°. Screw’s depths at entrance and exit channels are 20 mm and 1 mm respectively. A proposed geared DC motor using for a power transmission system is 120 watts, 24 Volts and 75RPM. The machine body is made from steel type L20x20 and its size is 100x210x250 mm.
The experiment showed that it can each squeeze 427.6 g of milk per 1000 g of coconut meat,71.27% of efficiency, It use 2.11 minute in each operation per 1000 g of coconut meat and 5.11 minute per 1000 g of coconut milk. The machine II showed higher efficiencies at low time consuming process comparing with a double-gear type coconut milk squeezing machine (65.5%, 3.41 minute) and blade type coconut milk squeezing machine (50%, 2.24 minute). For further improvement, are to redesign a main container and system squeezing of squeezing bigger coconut meat |
en |