DSpace Repository

การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรด้วยวิธีการกลั่น

Show simple item record

dc.contributor.author วรณี ตันกิติยานนท์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:01:21Z
dc.date.available 2019-03-25T09:01:21Z
dc.date.issued 2549
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1179
dc.description.abstract งานวิจัยนี้ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดน้ำมันหอมระเหยของพืชทั้ง 4 ชนิด คือ ไพล ขมิ้นชัน ขิง ข่า ด้วยวิธีการกลั่นด้วยน้ำและไอน้ำ โดยศึกษาเปรียบเทียบถึงขนาดของพืชตัวอย่าง และวิธีการกลั่นที่ส่งผลต่อปริมาณและคุณภาพของน้ำมันหอมระเหยที่ได้ ทำการทดลองโดยนำพืชตัวอย่าง 500 กรัม มากลั่นด้วยน้ำปริมาตร 1.3 ลิตร เป็นระยะเวลา 4 ช.ม. จาการทดลอง พบว่า พืชตัวอย่างที่มีขนาดละเอียดจะกลั่นน้ำมันได้มากกว่าพืชตัวอย่างที่มีขนาดหยาบ การกลั่นด้วยน้ำจะให้ปริมาณน้ำมากกว่าการกลั่นด้วยไอน้ำ ในการกลั่นด้วยน้ำ ไพล ขมิ้นชัน ข่าและขิงที่มีขนาดละเอียดกลั่นน้ำมันได้ประมาณ 4.50 ml (0.9148%v/w),4.58 ml (0.9148%v/w), 0.32 ml (0.0629%v/w) และ 0.71 ml (0.1369%v/w) ตามลำดับ และวิเคราะห์ปริมาณและองค์ประกอบของน้ำมันหอมระเหยด้วยเครื่องแก๊สโครมาโตกราฟฟี่ (GC) พบสารซึ่งเป็นองค์ประกอบหลักในน้ำมันหอมละเหยจากขมิ้นชันอยู่ 11 ชนิด คือ œ-phellandrene, cymene, 1,8-cineole, terpinolene, caryophyllene, ar-cuemene, β-bisabolene, β-sesquiphellandrene, β-turmerone+ar-turmerone และ curlone พบสารซึ่งเป็นองคืประกอบหลักในน้ำมันหอมละเหยจกข่าอยู่ 14 ชนิด คือ œ-pinene, 1,8-cineole, terpinen-4-ol, œ-terpineol, chavicol, phenol-4-(2-propeny)acetate, phenol-4-(2-propenyl)acetate, caryophyllene, œ-humulene, trans-β-farnrsene, β-eudesmene, œ-selinene, β-bisabolene และ germacrene B พบสารซึ่งเป็นองค์ประกอบหลักในน้ำมันหอมระเหยจากขิงอยู่ 15 ชนิด คือ œ-pinene, camphene, β-myrcene, β-phellaqndrene, 1,8-cineole, linalool, citronellol, neral, geraniol, geranial, ar-curcumene, zingiberene, β-bisabolene, β-sesquiphellandrene และ Zingiberenol th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ขมิ้นชัน th_TH
dc.subject ขิง th_TH
dc.subject ข่า th_TH
dc.subject น้ำมันหอมระเหย th_TH
dc.subject ไพล th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช th_TH
dc.title การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรด้วยวิธีการกลั่น th_TH
dc.type Research
dc.year 2549
dc.description.abstractalternative Essential oil of plai (Zingiber cassumunar) Turmeric (Curcuma Long Linn.), Galanga (Alpinia Galanga Linn.) and Zingiber (Zingiber officinale Posc.) Cultivated in Thailand were obtained by hydrodistillation The effect of different parameter, such as method of distillation (water distillation,water and steam distillation) and size of plant in each sample. Using water distillation and powdered sample, yield generally increased. In water distillation : Powdered Tumeric, powdered Galanga and powdered Zingiber are approximately distillated oils 4.50 ml (0.90%v/w),4.58 ml (0.91%v/w), 0.32 ml (0.06%v/w) และ 0.71 ml (0.14%v/w), respectively. Analayzing quantity and compositions with gas chromatography (GC) fine 11 main components in Turmerics’s essential oil, œ-phellandrene, cymene, 1,8-cineole, terpinolene, caryophyllene, ar-cuemene, β-bisabolene, β-sesquiphellandrene, β-turmerone+ar-turmerone and curlone. In Galanga’s essential oil has 14 main components, œ-pinene, 1,8-cineole, terpinen-4-ol, œ-terpineol, chavicol, phenol-4-(2-propeny)acetate, phenol-4-(2-propenyl)acetate, caryophyllene, œ-humulene, trans-β-farnrsene, β-eudesmene, œ-selinene, β-bisabolene an germacrene B. and in Zingiber’s essential oil has 15 main component œ-pinene, camphene, β-myrcene, β-phellaqndrene, 1,8-cineole, linalool, citronellol, neral, geraniol, geranial, ar-curcumene, zingiberene, β-bisabolene, β-sesquiphellandrene and Zingiberenol. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account