DSpace Repository

การยืดอายุลูกหมากรถบรรทุก

Show simple item record

dc.contributor.author ปิยฉัตร ยิ้มศิริ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:01:20Z
dc.date.available 2019-03-25T09:01:20Z
dc.date.issued 2549
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1155
dc.description.abstract งานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาคุณสมบัติของยางภายในลูกหมากรถบรรทุก โดยชิ้นงานได้จาการผสมระหว่างยางธรรมชาติ (Natural Rubber,NR) กับยางสังเคราะห์ โดยยางสังเคราะห์ที่ใช้คือ ยางสไตรีนบิว ตาไดอัน (Styrene Butadiene Rabber, SBR ) และยางบิวตาไดอีน (Butadiene Rubber,BR) ที่อัตราส่วนโดยน้ำหนักต่างๆและทำการเติมสารเคมีต่างๆลงไปเพื่อช่วยเพิ่มคุณสมบัติของยาง เช่น สารทำให้ยางคงรูป สารเร่งปฏิกิรยา และสารเพิ่มความแข็งแรง เป็นต้น ที่ปริมาณคงที่ตลอดการทดลอง คุณสมบัติเชิงกลที่ทำการศึกษา ได้แก่ ความแข็งแรง ความยืดหยุ่น ความต้านทานการฉีกขาด และความแข็งของยาง พบว่าความแข็งแรงของยางผสมระหว่าง NR และ SBR จะเพิ่มขึ้นเมือปริมาณยาง SBR ลดลง แต่สำหรับยางผสม NR และ BR ความแข็งแรงจะเพิ่มขึ้นเมื่อปริมาณยาง BR เพิ่มขึ้นในทางตรงกันข้าม ผลจากการทดสอบความต้านทานแรงฉีกให้ผลที่ไม่แน่นอนส่วนความยืดหยุ่นและความแข็งแรงของยางเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยเมื่ออัตราส่วนของยางผสมเปลี่ยนไป ยางผสมที่อัตราส่วน NR/SBN ที่ 70:30 แสดงให้เห็นศักยภาพในการนำมาใช้มากที่สุดเนื่องจากมีคุณสมบัติเชิงกลดีที่สุด th_TH
dc.description.sponsorship สนับสนุนโดยทุนการวิจัยและพัฒนาคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject คุณสมบัติเชิงกล th_TH
dc.subject ยางธรรมชาติ th_TH
dc.subject ลูกหมาก th_TH
dc.subject สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย th_TH
dc.title การยืดอายุลูกหมากรถบรรทุก th_TH
dc.type Researcg th_TH
dc.year 2549
dc.description.abstractalternative The objective of this study is to optimize rubber composition, which are natural rubber (NR), styrene-butadiene rubber (SBR) and butadiene rubber (BR), for rod bush application by varying these rubber components. Other compounding ingredients, e.g. vulcanizing agent, accelerators actvators , and reinforcing filler, are kept constant throughout the experiment. Mechanical properties, i.e. tensile strength, percent elongation, tear strength, and hardness, of the blends were investigated. Results show that the tensile strength icreases as the amont of SBR decreases, but with an increase of BR. In contrast to tensile strength, the rubber composition does not give a certain trend for tear strength. Elasticity and hardness of the blends slightly change with the rubber ratio. The blend of NR/SBN at 70:30 weight ratio has the highest potential as it achieved the best mechanical properties. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account