dc.contributor.author |
ปิยฉัตร ยิ้มศิริ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:01:20Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:01:20Z |
|
dc.date.issued |
2549 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1154 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้ศึกษาถึงอิทธิพลของสารจับออกซิเจน (oxygen scavenger) ต่อคุณสมบัติทางกล ทางกายภาพ และทางชีวภาพของฟิล์มพลาสติกถนอมอาหาร พบว่าเมื่อเพิ่มความเข้มข้นของ oxygen scavenger มากขึ้น ทำให้ความแข็งแรงและความยืดหยุ่นของฟิล์มพลาสติกลดลง นอกจากนี้ยังทำให้ฟิล์มพลาสติกมีความขุ่นมากขึ้น ในส่วนของคุณสมบัติทางชีวภาพ ทำการทดสอบโดยนำอาหาร ได้แก่ วิปปิ้งครีม น้ำมันเมล็ดทานตะวัน และน้ำมันมะพร้าวผสมน้ำมันปาล์มมาบรรจุลงในบรรจุภัณฑ์ฟิล์มพลาสติก จากนั้นทำการทดสอบคุณภาพของอาหาร พบว่าสำหรับวิปปิ้งครีม จำนวนเชื้อจุลินทรีย์ที่มีอยู่ในวิปปิ้งครีมมีปริมาณน้อยกว่าที่มาตรฐานกำหนดมาก คือมากสุด 14,735 CFU/ml ซึ่งมาตรฐานกำหนดไว้ว่ามีจำนวนจุลินทรีย์ได้ไม่เกิน 10^5 CFU/ml การเจริญเติบโตของจุลินทรีย์สอดคล้องกับปริมาณออกซิเจนที่ละลายในวิปปิ้งครีม การหืนอันเนื่องมาจากจุลินทรีย์ (Free Faty Acid, FFA) และการหืนอันเนื่องมาจากปฏิกิริยาออกซิเดชัน (Peroxide Value,Pv) การเพิ่มปริมาณ oxygen scavenger ลงในบรรจุภัณฑ์มีผลในการลดปริมาณจุลินทรีย์ แต่ระดับความหืนไม่ต่างกันมาก น้ำมันมะพร้าวผสมน้ำมันปาล์มถูกทำการศึกษาเพื่อเปรียบเทียบกับน้ำมันเมล็ดทานตะวันเนื่องจากมีปริมาณไขมันอิ่มตัวสูงกว่าเมล็ดทานตะวันมาก คุณสมบัติโดยรวมอันได้แก่ การหืนจากจุลินทรีย์ ความหนืด และความขุ่นของน้ำมันไม่ต่างกัน ยกเว้น น้ำมันเล็ดทานตะวัน แสดงให้เห็นว่า เกิดการหืนจากปฏิกิริยาออกซิเจนสูงกว่า ปริมาณ oxygen scavenger ที่แตกต่างกันในบรรจุภัณฑ์ไม่ส่งผลกรทบต่อคุณสมบัติของน้ำมันทั้งสอง |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิศวกรรมศาสตร์. มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
คุณภาพอาหาร |
th_TH |
dc.subject |
พลาสติกถนอมอาหาร |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย |
th_TH |
dc.title |
อิทธิพลของสารจับอ๊อกซิเจนต่อคุณสมบัติของฟิล์มพลาสติกถนอมอาหาร |
th_TH |
dc.title.alternative |
Influence of oxigen scarvenger on properties of food conservation plastic films |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.year |
2549 |
|
dc.description.abstractalternative |
This research studied effects of oxygen scavenger on mechanical, physical and biological properties of plastic films. As the oxygen scavenger content increases, tensile strength and elasticity of the film decrease. In addition, film transparency decrease with an increase of oxygen scavenger. Three kinds of food were packed in the plastic pouches, i.e. whipping cream, sunflower oil and mixture of coconut oil and palm oil. For the whipping cream, It was found that the maximum microbial count was 14,735 CFU/ml, which was low compared with the Standard Regulation for Dairy Product Consume (not exceed 105 CFU/ml). The results from biological test were consistent with the results of dissolved oxygen, lipid oxidation and autoxidation. Even though the amount of oxygen scavenger has a slight effect on the microbial loads, the rancidities of the products are not different. Two types of cooking oil were studies in order to compare the effect of saturated/unsaturated fatty acid. In overall, viscosity, transparency and lipid oxidation of the two oil are similar. Sunflower oil which has higher amounts of unsaturated fatty acid showed the higher degree of autoxidation. Nevertheless, the amount oxygen scavenger dose not show any significant effects on the properties of the oil |
en |